ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมวดหมู่:การพัฒนาและฟื้นฟูป่า"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
[[ภาพ:290909-ป่าไม้.jpg|center]] | |||
<center><h1>ทรัพยากรป่าไม้: หัวหน้ากลุ่มของทรัพยากรธรรมชาติ</h1></center> | |||
<div class="kindent">ในช่วงเริ่มแรกของการเสด็จขึ้นครองราชย์ สถานการณ์ป่าไม้ในประเทศไทยมีปริมาณลดน้อยลง สาเหตุจากประชากรเพิ่มขึ้นทำให้ต้องการพื้นที่ทำกินและอยู่อาศัยมากขึ้น นโยบายของรัฐบาลที่ส่งเสริมให้ปลูกพืชเชิงเดี่ยวเพื่อการส่งออก การทำการเกษตรที่ผิดวิธี การขยายตัวอย่างรวดเร็วของวงการอุตสาหกรรม และการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่เพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าและเพื่อการจัดการชลประทานเพิ่มมากขึ้น | |||
พุทธศักราช ๒๕๐๔ พื้นที่ป่าไม้ในประเทศไทยมีประมาณร้อยละ ๕๓ ของพื้นที่ทั้งประเทศ ได้ลดลงอย่างรวดเร็วเหลือเพียงประมาณร้อยละ ๒๖ ของพื้นที่ทั้งประเทศ พุทธศักราช ๒๕๓๖ ประชาชนเข้าบุกรุกจับจอง | |||
ทำไร่เลื่อนลอย เช่น ปลูกข้าวโพด ข้าวไร่ มันสำปะหลัง อ้อย ถั่ว และพืชไร่ต่างๆ ในขณะที่อัตราการปลูกป่าไม้ทดแทนมีจำนวนน้อยกว่าปริมาณป่าไม้ที่สูญเสียประมาณ ๑๐ เท่า ในภาคเหนือป่าไม้ต้นน้ำลำธารถูกทำลายกว่า | |||
๑๔ ล้านไร่ | |||
[[หมวดหมู่:ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]][[หมวดหมู่:แนวพระราชดำริ]] | ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทรงเล็งเห็นสภาวะภัยแล้งที่เกิดจากการตัดไม้ทำลายป่า คือ ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำหลายแห่งรอบเทือกเขาภูพานลดปริมาณลงอย่างมาก บางแห่งเหลือเพียงครึ่งหนึ่งเท่านั้น | ||
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงปกป้องพื้นที่ป่าส่วนที่เหลือและฟื้นฟูป่าที่เสื่อมโทรม คือการปลูกป่าทดแทน ทรงดัดแปลงวิธีการปลูกป่าเพื่อการยังชีพของประชากร เนื่องจากประชาชนชาวไทยจำเป็นต้องใช้ไม้และผลผลิตอื่นๆ | |||
จากป่าในชีวิตประจำวัน การปลูกป่าจึงต้องอาศัยวิทยาการและเทคโนโลยีด้านการเกษตร เพื่อเพิ่มปริมาณการผลิตต่อพื้นที่ให้คุ้มประโยชน์สูงสุด ขณะเดียวกันก็สามารถรักษาทรัพยากรป่าไม้ให้คงอยู่ได้อย่างยั่งยืน | |||
</div> | |||
[[หมวดหมู่:พระราชกณียกิจ]][[หมวดหมู่:ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม]][[หมวดหมู่:แนวพระราชดำริ]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:50, 29 กันยายน 2552
ทรัพยากรป่าไม้: หัวหน้ากลุ่มของทรัพยากรธรรมชาติ
พุทธศักราช ๒๕๐๔ พื้นที่ป่าไม้ในประเทศไทยมีประมาณร้อยละ ๕๓ ของพื้นที่ทั้งประเทศ ได้ลดลงอย่างรวดเร็วเหลือเพียงประมาณร้อยละ ๒๖ ของพื้นที่ทั้งประเทศ พุทธศักราช ๒๕๓๖ ประชาชนเข้าบุกรุกจับจอง ทำไร่เลื่อนลอย เช่น ปลูกข้าวโพด ข้าวไร่ มันสำปะหลัง อ้อย ถั่ว และพืชไร่ต่างๆ ในขณะที่อัตราการปลูกป่าไม้ทดแทนมีจำนวนน้อยกว่าปริมาณป่าไม้ที่สูญเสียประมาณ ๑๐ เท่า ในภาคเหนือป่าไม้ต้นน้ำลำธารถูกทำลายกว่า ๑๔ ล้านไร่
ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทรงเล็งเห็นสภาวะภัยแล้งที่เกิดจากการตัดไม้ทำลายป่า คือ ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำหลายแห่งรอบเทือกเขาภูพานลดปริมาณลงอย่างมาก บางแห่งเหลือเพียงครึ่งหนึ่งเท่านั้น
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงปกป้องพื้นที่ป่าส่วนที่เหลือและฟื้นฟูป่าที่เสื่อมโทรม คือการปลูกป่าทดแทน ทรงดัดแปลงวิธีการปลูกป่าเพื่อการยังชีพของประชากร เนื่องจากประชาชนชาวไทยจำเป็นต้องใช้ไม้และผลผลิตอื่นๆ จากป่าในชีวิตประจำวัน การปลูกป่าจึงต้องอาศัยวิทยาการและเทคโนโลยีด้านการเกษตร เพื่อเพิ่มปริมาณการผลิตต่อพื้นที่ให้คุ้มประโยชน์สูงสุด ขณะเดียวกันก็สามารถรักษาทรัพยากรป่าไม้ให้คงอยู่ได้อย่างยั่งยืน
หน้าในหมวดหมู่ "การพัฒนาและฟื้นฟูป่า"
7 หน้าต่อไปนี้อยู่ในหมวดหมู่นี้ จากทั้งหมด 7 หน้า