ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทรงดำรงสิริราชสมบัติยาวนาน"

จาก WIKI84
(Wikipedia python library)
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงดำรงสิริราชสมบัติยาวนานยิ่งกว่าสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชพระองค์ใดของประเทศไทย และยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในโลกในปัจจุบัน ในช่วงระยะเวลา ๖๐ ปีแห่งการดำรงสิริราชสมบัตินั้น เมื่อครบรอบวันแห่งพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในเดือนพฤษภาคมของแต่ละปีเวียนมาบรรจบ จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีเพื่อเป็นสวัสดิมงคลแก่ สิริราชสมบัติและพระราชอาณาจักรตามโบราณราชประเพณี คือ พระราชพิธีฉัตรมงคล นอกจากนี้ ในโอกาสมหามงคลที่ทรงครองราชย์เทียบเท่าพระมหากษัตริยาธิราชเจ้าในอดีตหรือครองราชย์ครบ ๒๕ ปี ๕๐ ปี และ ๖๐ ปี จะมีพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติเป็นงานใหญ่ ในรัชกาลของพระองค์ ได้มีพระราชพิธีเฉลิมฉลองวาระครบรอบแห่งการครองสิริ
<div id="bg_g5">
ราชสมบัติ ดังนี้
<center><h3>ทรงดำรงสิริราชสมบัติยาวนาน</h3></center>
<div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงดำรงสิริราชสมบัติยาวนานยิ่งกว่าสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชพระองค์ใดของประเทศไทย และยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในโลกในปัจจุบัน ในช่วงระยะเวลา ๖๐ ปีแห่งการดำรงสิริราชสมบัตินั้น เมื่อครบรอบวันแห่งพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในเดือนพฤษภาคมของแต่ละปีเวียนมาบรรจบ จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีเพื่อเป็นสวัสดิมงคลแก่ สิริราชสมบัติและพระราชอาณาจักรตามโบราณราชประเพณี คือ พระราชพิธีฉัตรมงคล นอกจากนี้ ในโอกาสมหามงคลที่ทรงครองราชย์เทียบเท่าพระมหากษัตริยาธิราชเจ้าในอดีตหรือครองราชย์ครบ ๒๕ ปี ๕๐ ปี และ ๖๐ ปี จะมีพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติเป็นงานใหญ่ ในรัชกาลของพระองค์ ได้มีพระราชพิธีเฉลิมฉลองวาระครบรอบแห่งการครองสิริราชสมบัติ ดังนี้


๑. พระราชพิธีรัชดาภิเษก เพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสมหามงคลเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติบรรจบครบ ๒๕ ปี เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๑๔
๑. พระราชพิธีรัชดาภิเษก เพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสมหามงคลเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติบรรจบครบ ๒๕ ปี เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๑๔


๒. พระราชพิธีเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ พุทธศักราช ๒๕๒๐ เป็นโอกาสมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมีพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษาและเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ประกอบพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาและพระราชพิธีเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระราชพิธีเดียวกัน โดยจัดการพระราชพิธีขึ้นในวันที่ ๑ พฤศจิกายน กับวันที่ ๓ – ๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ นอกจากนี้ ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สถาปนาพระราชอิสริยศักดิ์ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุล
๒. พระราชพิธีเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ พุทธศักราช ๒๕๒๐ เป็นโอกาสมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมีพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษาและเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ประกอบพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาและพระราชพิธีเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระราชพิธีเดียวกัน โดยจัดการพระราชพิธีขึ้นในวันที่ ๑ พฤศจิกายน กับวันที่ ๓ – ๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ นอกจากนี้ ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สถาปนาพระราชอิสริยศักดิ์ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ขึ้น โดยเฉลิมพระนามตามจารึกพระสุพรรณบัฏว่า “สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมา คุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี” เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐
โสภาคย์ขึ้น โดยเฉลิมพระนามตามจารึกพระสุพรรณบัฏว่า “สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมา คุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี” เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม
พุทธศักราช ๒๕๒๐


๓. พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก จัดขึ้นเพื่อทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทรงพระราชอุทิศถวายแด่สมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า และสมโภชสิริราชสมบัติในโอกาสมหามงคล
๓. พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก จัดขึ้นเพื่อทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทรงพระราชอุทิศถวายแด่สมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า และสมโภชสิริราชสมบัติในโอกาสมหามงคลที่ทรงครองสิริราชสมบัติเสมอด้วยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นเวลา ๔๒ ปี ๒๒ วัน ในวันที่ ๑ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ และตั้งแต่วันที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ เป็นต้นไป พระองค์เสด็จดำรงในสิริราชสมบัติเป็นระยะเวลานานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดในประวัติศาสตร์ของชาติไทย การกำหนดพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษกมีกำหนด ๓ วัน คือ วันที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ พระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุปทานถวายแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ ๓ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ พระราชพิธีสมโภชสิริราชสมบัติรัชมังคลาภิเษกและเวียนเทียน สมโภชสิริราชสมบัติวันที่ ๕ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ จัดพระราชพิธีบวงสรวงสังเวยสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า ณ พลับพลาตรีมุข พระราชวังโบราณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ที่ทรงครองสิริราชสมบัติเสมอด้วยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นเวลา ๔๒ ปี ๒๒ วัน ในวันที่ ๑ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ และตั้งแต่วันที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ เป็นต้นไป พระองค์เสด็จดำรงในสิริราชสมบัติเป็นระยะเวลานานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดในประวัติศาสตร์ของชาติไทย การกำหนดพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษกมีกำหนด ๓ วัน คือ วันที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ พระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุปทานถวายแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอม
เกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ ๓ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ พระราชพิธีสมโภชสิริราชสมบัติรัชมังคลาภิเษกและเวียนเทียน สมโภชสิริราชสมบัติวันที่ ๕ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑
จัดพระราชพิธีบวงสรวงสังเวยสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า ณ พลับพลาตรีมุข พระราชวังโบราณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา


๔. พระราชพิธีกาญจนาภิเษก จัดขึ้นในโอกาสมหามงคลที่เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ในวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๓๙ รัฐบาลได้จัดงานเฉลิมฉลอง
๔. พระราชพิธีกาญจนาภิเษก จัดขึ้นในโอกาสมหามงคลที่เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ในวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๓๙ รัฐบาลได้จัดงานเฉลิมฉลองขึ้นเป็นงานใหญ่ ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่องานว่า “การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี” และพระราชทานชื่อพระราชพิธีว่า “พระราชพิธีกาญจนาภิเษก” พร้อมทั้งพระราชทานชื่องานและชื่อพระราชพิธี เป็นภาษาอังกฤษว่า “The Fiftieth Anniversary (Golden Jubilee) Celebrations of His Majesty’s Accession to the Throne” การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี และพระราชพิธีกาญนาภิเษกนี้กำหนดให้มีขึ้นระหว่างวันที่ ๘ - ๑๒ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๓๙
ขึ้นเป็นงานใหญ่ ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่องานว่า “การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี” และพระราชทานชื่อพระราชพิธีว่า “พระราชพิธี
กาญจนาภิเษก” พร้อมทั้งพระราชทานชื่องานและชื่อพระราชพิธี เป็นภาษาอังกฤษว่า “The Fiftieth Anniversary (Golden Jubilee) Celebrations of His Majesty’s Accession to the Throne” การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี และพระราชพิธีกาญนาภิเษกนี้กำหนดให้มีขึ้นระหว่างวันที่ ๘ - ๑๒ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๓๙
 
๕. พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี จัดขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติในโอกาสมหามงคลทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๔๙ ซึ่งนับว่ายาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในอดีต และยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในโลกในปัจจุบัน ครั้งนี้รัฐบาลได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต จัดงานเฉลิมฉลองเป็นงานใหญ่ทั่วประเทศเช่นเดียวกันกับเมื่อพุทธศักราช ๒๕๓๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่องานว่า “การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ
๖๐ ปี” พระราชทานชื่องานและชื่อพระราชพิธีเป็นภาษาอังกฤษว่า “The Sixtieth Anniversary Celebrations of His Majesty’s Accession to the Throne”


๕. พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี จัดขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติในโอกาสมหามงคลทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๔๙ ซึ่งนับว่ายาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในอดีต และยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในโลกในปัจจุบัน ครั้งนี้รัฐบาลได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต จัดงานเฉลิมฉลองเป็นงานใหญ่ทั่วประเทศเช่นเดียวกันกับเมื่อพุทธศักราช ๒๕๓๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่องานว่า “การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี” พระราชทานชื่องานและชื่อพระราชพิธีเป็นภาษาอังกฤษว่า “The Sixtieth Anniversary Celebrations of His Majesty’s Accession to the Throne”


นอกจากพระราชพิธีสมโภชสิริราชสมบัติในโอกาสมหามงคลดังกล่าวแล้ว ยังมีพระราชพิธีสมมงคล หมายถึง พระราชพิธีที่จัดขึ้นเนื่องในวาระที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษาเสมอเท่าพระมหากษัตริย์ในรัชกาลก่อนๆ และมีพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาในโอกาสมหามงคลครบรอบปีนักษัตร ตลอดจนพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษามีพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษา หรือยิ่งกว่านั้นขึ้นไปด้วย ซึ่งในรัชกาลปัจจุบันได้มีพระราชพิธีในโอกาสมหามงคลดังกล่าวที่จัดขึ้นแล้ว และกำลังจะจัดขึ้น ดังนี้
นอกจากพระราชพิธีสมโภชสิริราชสมบัติในโอกาสมหามงคลดังกล่าวแล้ว ยังมีพระราชพิธีสมมงคล หมายถึง พระราชพิธีที่จัดขึ้นเนื่องในวาระที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษาเสมอเท่าพระมหากษัตริย์ในรัชกาลก่อนๆ และมีพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาในโอกาสมหามงคลครบรอบปีนักษัตร ตลอดจนพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษามีพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษา หรือยิ่งกว่านั้นขึ้นไปด้วย ซึ่งในรัชกาลปัจจุบันได้มีพระราชพิธีในโอกาสมหามงคลดังกล่าวที่จัดขึ้นแล้ว และกำลังจะจัดขึ้น ดังนี้
บรรทัดที่ 25: บรรทัดที่ 17:
๑. พระราชพิธีมหามงคลเนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา ๓ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๖
๑. พระราชพิธีมหามงคลเนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา ๓ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๖


๒. พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมพรรษาเสมอสมเด็จพระราชบิดา (เมื่อ
๒. พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมพรรษาเสมอสมเด็จพระราชบิดา (เมื่อพระชนมพรรษา ๓๘ พรรษา) วันที่ ๒๙ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๐๘
พระชนมพรรษา ๓๘ พรรษา) วันที่ ๒๙ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๐๘


๓. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๔ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘
๓. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๔ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีเช่นเดียวกับพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาตามปกติของทุกปี
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีเช่นเดียวกับพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาตามปกติของทุกปี


๔. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๒๐ จัดขึ้นในมหามงคลทรงเจริญ
๔. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๒๐ จัดขึ้นในมหามงคลทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดรวมกับพระราชพิธีเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ (ในพระราชพิธีนี้ได้โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมสถาปนาพระราชอิสริยศักดิ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดังได้กล่าวมาแล้ว)
พระชนมพรรษา ๕๐ พรรษา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดรวมกับพระราชพิธีเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ (ในพระราชพิธีนี้ได้โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมสถาปนาพระราชอิสริยศักดิ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดังได้กล่าวมาแล้ว)


๕. พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมพรรษาเสมอสมเด็จพระบรมอัยกาธิราช
๕. พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมพรรษาเสมอสมเด็จพระบรมอัยกาธิราช พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดขึ้นในโอกาสมหามงคลที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕๗ พรรษา ๓๓ วัน เมื่อวันที่ ๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๒๘
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดขึ้นในโอกาสมหามงคลที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕๗ พรรษา ๓๓ วัน เมื่อวันที่ ๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๒๘


๖. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๐ จัดขึ้นใน
๖. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๐ จัดขึ้นในโอกาสมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕ รอบ หรือ ๖๐ พรรษา พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาครั้งนี้จัดอย่างยิ่งใหญ่ ประกอบด้วยพระราชพิธีหล่อพระพุทธรูปประจำพระชนมวารและพระพุทธรูปประจำพระชนมพรรษามหามงคล ๕ รอบ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระราชพิธีถวายผ้าพระกฐินโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ณ วัดอรุณราชวราราม พระราชพิธีฉลองพระพุทธรูป และการเสด็จออกมหาสมาคมรับการถวายพระพร ชัยมงคลเฉลิมพระเกียรติ ณ พระที่นั่งชัยมังคลาภิเษกที่สร้างขึ้น ณ ท้องสนามหลวง
โอกาสมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕ รอบ หรือ ๖๐ พรรษา พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาครั้งนี้จัดอย่างยิ่งใหญ่ ประกอบด้วยพระราชพิธีหล่อพระพุทธรูปประจำพระชนมวารและพระพุทธรูปประจำพระชนมพรรษามหามงคล ๕ รอบ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระราชพิธีถวายผ้าพระกฐินโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ณ วัดอรุณราชวราราม พระราชพิธีฉลองพระพุทธรูป และการเสด็จออกมหาสมาคมรับการถวายพระพร ชัยมงคลเฉลิมพระเกียรติ ณ พระที่นั่งชัยมังคลาภิเษกที่สร้างขึ้น ณ ท้องสนามหลวง


๗. พระราชพิธีสมมงคลพระชนมพรรษา ๖๔ พรรษา เสมอสมเด็จพระบรมปัยกาธิราช พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสมอพระชนมวาร ๒๓,๒๖๐ วัน เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๔
๗. พระราชพิธีสมมงคลพระชนมพรรษา ๖๔ พรรษา เสมอสมเด็จพระบรมปัยกาธิราช พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสมอพระชนมวาร ๒๓,๒๖๐ วัน เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๔
บรรทัดที่ 44: บรรทัดที่ 31:
๘. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒ จัดขึ้นในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเจริญพระชนมพรรษา ๖ รอบ หรือ ๗๒ พรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒ รัฐบาลได้กราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดงานเฉลิมพระเกียรติขึ้น ประกอบด้วยพระราชพิธีต่างๆ ๑๐ พระราชพิธี รัฐพิธี ๓ รัฐพิธี และงานเฉลิมฉลอง๒ งาน และยังมีโครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนตลอดทั้งปี ในครั้งนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่องานพระราชพิธีว่า “พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒” พระราชทานชื่อการจัดงานเฉลิมพระเกียรติว่า “งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒” ส่วนชื่อภาษาอังกฤษนั้นใช้เหมือนกันว่า “The Celebrations on the Auspicious Occasion of His Majesty the King’s 6th Cycle Birthday Anniversary 5th December 1999”
๘. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒ จัดขึ้นในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเจริญพระชนมพรรษา ๖ รอบ หรือ ๗๒ พรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒ รัฐบาลได้กราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดงานเฉลิมพระเกียรติขึ้น ประกอบด้วยพระราชพิธีต่างๆ ๑๐ พระราชพิธี รัฐพิธี ๓ รัฐพิธี และงานเฉลิมฉลอง๒ งาน และยังมีโครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนตลอดทั้งปี ในครั้งนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่องานพระราชพิธีว่า “พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒” พระราชทานชื่อการจัดงานเฉลิมพระเกียรติว่า “งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒” ส่วนชื่อภาษาอังกฤษนั้นใช้เหมือนกันว่า “The Celebrations on the Auspicious Occasion of His Majesty the King’s 6th Cycle Birthday Anniversary 5th December 1999”


๙. พระราชพิธีสมมงคลพระชนมายุเท่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
๙. พระราชพิธีสมมงคลพระชนมายุเท่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระปฐมบรมกษัตริยาธิราชแห่งพระบรมราชวงศ์ วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๓ เป็นพระราชพิธีเนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา ๗๓ พรรษา (๗๒ ปี ๕ เดือน ๑๙ วัน) นับพระชนมวารได้ ๒๖,๔๖๙ วัน เท่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
สมเด็จพระปฐมบรมกษัตริยาธิราชแห่งพระบรมราชวงศ์ วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๓ เป็นพระราชพิธีเนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา ๗๓ พรรษา (๗๒ ปี ๕ เดือน ๑๙ วัน) นับพระชนมวารได้ ๒๖,๔๖๙ วัน เท่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
</div>
 


[[หมวดหมู่:พระราชประวัติ]]
[[หมวดหมู่:พระราชประวัติ]]
</div>

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 08:40, 2 ตุลาคม 2552

ทรงดำรงสิริราชสมบัติยาวนาน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงดำรงสิริราชสมบัติยาวนานยิ่งกว่าสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชพระองค์ใดของประเทศไทย และยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในโลกในปัจจุบัน ในช่วงระยะเวลา ๖๐ ปีแห่งการดำรงสิริราชสมบัตินั้น เมื่อครบรอบวันแห่งพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในเดือนพฤษภาคมของแต่ละปีเวียนมาบรรจบ จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีเพื่อเป็นสวัสดิมงคลแก่ สิริราชสมบัติและพระราชอาณาจักรตามโบราณราชประเพณี คือ พระราชพิธีฉัตรมงคล นอกจากนี้ ในโอกาสมหามงคลที่ทรงครองราชย์เทียบเท่าพระมหากษัตริยาธิราชเจ้าในอดีตหรือครองราชย์ครบ ๒๕ ปี ๕๐ ปี และ ๖๐ ปี จะมีพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติเป็นงานใหญ่ ในรัชกาลของพระองค์ ได้มีพระราชพิธีเฉลิมฉลองวาระครบรอบแห่งการครองสิริราชสมบัติ ดังนี้

๑. พระราชพิธีรัชดาภิเษก เพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสมหามงคลเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติบรรจบครบ ๒๕ ปี เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๑๔

๒. พระราชพิธีเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ พุทธศักราช ๒๕๒๐ เป็นโอกาสมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมีพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษาและเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ประกอบพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาและพระราชพิธีเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระราชพิธีเดียวกัน โดยจัดการพระราชพิธีขึ้นในวันที่ ๑ พฤศจิกายน กับวันที่ ๓ – ๖ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ นอกจากนี้ ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สถาปนาพระราชอิสริยศักดิ์ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ขึ้น โดยเฉลิมพระนามตามจารึกพระสุพรรณบัฏว่า “สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมา คุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี” เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐

๓. พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก จัดขึ้นเพื่อทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทรงพระราชอุทิศถวายแด่สมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า และสมโภชสิริราชสมบัติในโอกาสมหามงคลที่ทรงครองสิริราชสมบัติเสมอด้วยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นเวลา ๔๒ ปี ๒๒ วัน ในวันที่ ๑ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ และตั้งแต่วันที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ เป็นต้นไป พระองค์เสด็จดำรงในสิริราชสมบัติเป็นระยะเวลานานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดในประวัติศาสตร์ของชาติไทย การกำหนดพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษกมีกำหนด ๓ วัน คือ วันที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ พระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุปทานถวายแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ ๓ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ พระราชพิธีสมโภชสิริราชสมบัติรัชมังคลาภิเษกและเวียนเทียน สมโภชสิริราชสมบัติวันที่ ๕ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ จัดพระราชพิธีบวงสรวงสังเวยสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า ณ พลับพลาตรีมุข พระราชวังโบราณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

๔. พระราชพิธีกาญจนาภิเษก จัดขึ้นในโอกาสมหามงคลที่เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ในวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๓๙ รัฐบาลได้จัดงานเฉลิมฉลองขึ้นเป็นงานใหญ่ ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่องานว่า “การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี” และพระราชทานชื่อพระราชพิธีว่า “พระราชพิธีกาญจนาภิเษก” พร้อมทั้งพระราชทานชื่องานและชื่อพระราชพิธี เป็นภาษาอังกฤษว่า “The Fiftieth Anniversary (Golden Jubilee) Celebrations of His Majesty’s Accession to the Throne” การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี และพระราชพิธีกาญนาภิเษกนี้กำหนดให้มีขึ้นระหว่างวันที่ ๘ - ๑๒ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๓๙

๕. พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี จัดขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติในโอกาสมหามงคลทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๔๙ ซึ่งนับว่ายาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในอดีต และยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ในโลกในปัจจุบัน ครั้งนี้รัฐบาลได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต จัดงานเฉลิมฉลองเป็นงานใหญ่ทั่วประเทศเช่นเดียวกันกับเมื่อพุทธศักราช ๒๕๓๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่องานว่า “การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี” พระราชทานชื่องานและชื่อพระราชพิธีเป็นภาษาอังกฤษว่า “The Sixtieth Anniversary Celebrations of His Majesty’s Accession to the Throne”

นอกจากพระราชพิธีสมโภชสิริราชสมบัติในโอกาสมหามงคลดังกล่าวแล้ว ยังมีพระราชพิธีสมมงคล หมายถึง พระราชพิธีที่จัดขึ้นเนื่องในวาระที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษาเสมอเท่าพระมหากษัตริย์ในรัชกาลก่อนๆ และมีพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาในโอกาสมหามงคลครบรอบปีนักษัตร ตลอดจนพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษามีพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษา หรือยิ่งกว่านั้นขึ้นไปด้วย ซึ่งในรัชกาลปัจจุบันได้มีพระราชพิธีในโอกาสมหามงคลดังกล่าวที่จัดขึ้นแล้ว และกำลังจะจัดขึ้น ดังนี้

๑. พระราชพิธีมหามงคลเนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา ๓ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๖

๒. พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมพรรษาเสมอสมเด็จพระราชบิดา (เมื่อพระชนมพรรษา ๓๘ พรรษา) วันที่ ๒๙ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๐๘

๓. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๔ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีเช่นเดียวกับพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาตามปกติของทุกปี

๔. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๒๐ จัดขึ้นในมหามงคลทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕๐ พรรษา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดรวมกับพระราชพิธีเถลิงถวัลยราชสมบัติได้หมื่นวันเศษ (ในพระราชพิธีนี้ได้โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมสถาปนาพระราชอิสริยศักดิ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดังได้กล่าวมาแล้ว)

๕. พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมพรรษาเสมอสมเด็จพระบรมอัยกาธิราช พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จัดขึ้นในโอกาสมหามงคลที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕๗ พรรษา ๓๓ วัน เมื่อวันที่ ๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๒๘

๖. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๐ จัดขึ้นในโอกาสมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๕ รอบ หรือ ๖๐ พรรษา พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาครั้งนี้จัดอย่างยิ่งใหญ่ ประกอบด้วยพระราชพิธีหล่อพระพุทธรูปประจำพระชนมวารและพระพุทธรูปประจำพระชนมพรรษามหามงคล ๕ รอบ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระราชพิธีถวายผ้าพระกฐินโดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ณ วัดอรุณราชวราราม พระราชพิธีฉลองพระพุทธรูป และการเสด็จออกมหาสมาคมรับการถวายพระพร ชัยมงคลเฉลิมพระเกียรติ ณ พระที่นั่งชัยมังคลาภิเษกที่สร้างขึ้น ณ ท้องสนามหลวง

๗. พระราชพิธีสมมงคลพระชนมพรรษา ๖๔ พรรษา เสมอสมเด็จพระบรมปัยกาธิราช พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสมอพระชนมวาร ๒๓,๒๖๐ วัน เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๔

๘. พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒ จัดขึ้นในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเจริญพระชนมพรรษา ๖ รอบ หรือ ๗๒ พรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒ รัฐบาลได้กราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจัดงานเฉลิมพระเกียรติขึ้น ประกอบด้วยพระราชพิธีต่างๆ ๑๐ พระราชพิธี รัฐพิธี ๓ รัฐพิธี และงานเฉลิมฉลอง๒ งาน และยังมีโครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนตลอดทั้งปี ในครั้งนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานชื่องานพระราชพิธีว่า “พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒” พระราชทานชื่อการจัดงานเฉลิมพระเกียรติว่า “งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒” ส่วนชื่อภาษาอังกฤษนั้นใช้เหมือนกันว่า “The Celebrations on the Auspicious Occasion of His Majesty the King’s 6th Cycle Birthday Anniversary 5th December 1999”

๙. พระราชพิธีสมมงคลพระชนมายุเท่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระปฐมบรมกษัตริยาธิราชแห่งพระบรมราชวงศ์ วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๓ เป็นพระราชพิธีเนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา ๗๓ พรรษา (๗๒ ปี ๕ เดือน ๑๙ วัน) นับพระชนมวารได้ ๒๖,๔๖๙ วัน เท่าพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช