ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทุนภูมิพล"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 4: | บรรทัดที่ 4: | ||
<h3>พุทธศักราช ๒๔๙๕ ทรงตั้งทุนภูมิพล : การศึกษาเป็นเครื่องกำหนดอนาคตของชาติ</h3> | <h3>พุทธศักราช ๒๔๙๕ ทรงตั้งทุนภูมิพล : การศึกษาเป็นเครื่องกำหนดอนาคตของชาติ</h3> | ||
<div class="kindent">พระราชกรณียกิจด้านการพัฒนาการศึกษาแก่บุคลากรที่มีศักยภาพยังคงดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง โดยในพุทธศักราช ๒๔๙๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตั้งทุนภูมิพล เริ่มดำเนินงานเป็นกองทุนจากรายได้ในการจัดฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์จำนวน ๒๐๐,๐๐๐ บาท พระราชทานแก่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แห่งละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ต่อมาได้ขยายไปยังมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อช่วยเหลือนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดี แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ มีนิสิต นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆ รับทุนไปแล้วเป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อจบการศึกษาแล้วก็เข้ารับราชการเพื่อทำประโยชน์แก่บ้านเมืองต่อไป | |||
พุทธศักราช ๒๕๐๘ ทรงรื้อฟื้นทุนเล่าเรียนหลวงหรือ “คิงสกอลาชิป” ซึ่งเริ่มมีขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้หยุดไปในระยะหนึ่งและรื้อฟื้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว | |||
และหยุดชะงักไปหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงรื้อฟื้นทุนเล่าเรียนหลวงพระราชทานให้แก่นักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีระดับการศึกษาดีเด่นเพื่อไปศึกษาต่อ ณ ต่างประเทศ | |||
มีพระราชประสงค์ให้ผู้รับทุนได้ศึกษาทั้งวิชาการ และได้รับการอบรมให้รู้และเข้าใจขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวตะวันตกไปด้วย | |||
สิ่งสำคัญที่สุดคือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเน้นย้ำว่า การศึกษาทางด้านวิชาการควรควบคู่ไปกับการศึกษาความรู้ในทางธรรม กล่าวคือ การสร้างเด็กให้เป็นผู้ใหญ่ที่ดีในวันข้างหน้า จะเน้นที่การสร้างความฉลาด | |||
ความเก่งอย่างเดียวไม่ได้ จำเป็นต้องสร้างความมีคุณธรรมเป็นสำคัญ | |||
พระราชกรณียกิจด้านการศึกษาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมุ่งมั่นทุ่มเท เพื่อให้การศึกษามีการพัฒนาอย่างทั่วถึง เข้าถึงทุกพื้นที่ของประเทศ นับเป็นคุณูปการยิ่งใหญ่ต่อประเทศชาติอย่างอเนกอนันต์ปกแผ่ไพศาลให้ประชาชนทุกกลุ่มได้มีโอกาสเข้ารับการศึกษามากขึ้น นอกจากนี้ แนวพระราชดำริในการพัฒนาการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัยเป็นการศึกษาเพื่อสร้างความอยู่ดีกินดี สร้างความเข้มแข็งในการพึ่งตนเอง และสร้างชีวิต สิ่งเหล่านี้ได้ให้วิธีคิดและแรงบันดาลใจแก่หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาการศึกษาทั้งระบบของประเทศอย่างเป็นองค์รวมให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป | |||
</div> | |||
[[ภาพ:ทุนภูมิพล.jpg|200px|left]] | [[ภาพ:ทุนภูมิพล.jpg|200px|left]] | ||
พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวด้านการศึกษาในระดับอุดมศึกษามีเป็นอเนกประการ ดังในปี พ.ศ.๒๔๙๕ โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งทุนภูมิพล เพื่อพระราชทานทุนแก่นิสิต นักศึกษาที่เรียนดีแต่ขาดแคลนทรัพย์ | |||
<div class="kgreen">"...ประเทศชาติของเราจะเจริญหรือเสื่อมลงนั้น ย่อมขึ้นอยู่กับการศึกษาของประชาชนแต่ละคนเป็นสำคัญ... | <div class="kgreen">"...ประเทศชาติของเราจะเจริญหรือเสื่อมลงนั้น ย่อมขึ้นอยู่กับการศึกษาของประชาชนแต่ละคนเป็นสำคัญ... | ||
บรรทัดที่ 14: | บรรทัดที่ 24: | ||
{{ดูเพิ่มเติม| [[การศึกษา]]}} | |||
[[หมวดหมู่:ทุน-มูลนิธิ-การศึกษา]] | |||
-- | |||
</div></div> | </div></div> | ||
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:09, 2 ตุลาคม 2552
พุทธศักราช ๒๔๙๕ ทรงตั้งทุนภูมิพล : การศึกษาเป็นเครื่องกำหนดอนาคตของชาติ
พุทธศักราช ๒๕๐๘ ทรงรื้อฟื้นทุนเล่าเรียนหลวงหรือ “คิงสกอลาชิป” ซึ่งเริ่มมีขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้หยุดไปในระยะหนึ่งและรื้อฟื้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และหยุดชะงักไปหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงรื้อฟื้นทุนเล่าเรียนหลวงพระราชทานให้แก่นักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีระดับการศึกษาดีเด่นเพื่อไปศึกษาต่อ ณ ต่างประเทศ มีพระราชประสงค์ให้ผู้รับทุนได้ศึกษาทั้งวิชาการ และได้รับการอบรมให้รู้และเข้าใจขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวตะวันตกไปด้วย
สิ่งสำคัญที่สุดคือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเน้นย้ำว่า การศึกษาทางด้านวิชาการควรควบคู่ไปกับการศึกษาความรู้ในทางธรรม กล่าวคือ การสร้างเด็กให้เป็นผู้ใหญ่ที่ดีในวันข้างหน้า จะเน้นที่การสร้างความฉลาด ความเก่งอย่างเดียวไม่ได้ จำเป็นต้องสร้างความมีคุณธรรมเป็นสำคัญ
พระราชกรณียกิจด้านการศึกษาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมุ่งมั่นทุ่มเท เพื่อให้การศึกษามีการพัฒนาอย่างทั่วถึง เข้าถึงทุกพื้นที่ของประเทศ นับเป็นคุณูปการยิ่งใหญ่ต่อประเทศชาติอย่างอเนกอนันต์ปกแผ่ไพศาลให้ประชาชนทุกกลุ่มได้มีโอกาสเข้ารับการศึกษามากขึ้น นอกจากนี้ แนวพระราชดำริในการพัฒนาการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัยเป็นการศึกษาเพื่อสร้างความอยู่ดีกินดี สร้างความเข้มแข็งในการพึ่งตนเอง และสร้างชีวิต สิ่งเหล่านี้ได้ให้วิธีคิดและแรงบันดาลใจแก่หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาการศึกษาทั้งระบบของประเทศอย่างเป็นองค์รวมให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป
พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวด้านการศึกษาในระดับอุดมศึกษามีเป็นอเนกประการ ดังในปี พ.ศ.๒๔๙๕ โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งทุนภูมิพล เพื่อพระราชทานทุนแก่นิสิต นักศึกษาที่เรียนดีแต่ขาดแคลนทรัพย์
ดูเพิ่มเติม | การศึกษา |
---|