ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จ-เจริญพระราชไมตรี"

จาก WIKI84
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
<div id="bg_g1t">&nbsp;</div>
<div id="bg_g8">
<div id="bg_g1">
<h1>เสด็จฯ เยือนต่างประเทศ "ผูกมิตรจิต มิตรใจ"</h1>
<h1>พุทธศักราช ๒๕๐๓ - ๒๕๐๔  เสด็จฯ เยือนต่างประเทศ "ผูกมิตรจิต มิตรใจ"</h1>
<div class="kindent">การเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยือนต่างประเทศอย่างเป็นทางการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพุทธศักราช ๒๕๐๓ ส่งผลให้ภาพลักษณ์ของพระประมุขแห่งประเทศไทยและประเทศไทยได้ปรากฏบนเวทีโลก ซึ่งนอกจากจะทำให้ได้รับการยอมรับว่ามีฐานะทัดเทียมกับนานาอารยประเทศแล้ว พระราชจริยวัตรและพระราชกรณียกิจของพระองค์ยังได้รับการเผยแพร่อย่างกว้างขวางเป็นที่ยกย่องไปทั่วโลก ส่งผลทางอ้อมต่อสภาวะการเมืองเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยอย่างไม่อาจประเมินได้อาทิ ช่วยสร้างความมั่นคงให้แก่ราชอาณาจักร รวมถึงความสะดวกราบรื่นในการติดต่อประสานงานความร่วมมือในด้านต่างๆ กับมิตรประเทศ อันจะนำมาซึ่งประโยชน์โภคผลระหว่างประเทศและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ในด้านเกียรติคุณของประเทศเป็นการแสดงให้เห็นถึงความเป็นประเทศเสรีมีเอกราช มีศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิมีความสง่างามตามรากฐานวัฒนธรรมเก่าแก่และประวัติศาสตร์ที่รุ่งเรืองยาวนาน กอปรด้วยไมตรีจิตและมิตรภาพที่เปี่ยมไปด้วยความสุภาพอ่อนน้อมตามแบบวิถีตะวันออก และมีความเจริญรุ่งเรืองที่ทัดเทียมกับนานาอารยประเทศดังพระราชดำรัสที่ว่า
</div>
<center>
<span style="display:block; width:90%; color:#00AEEF; text-align:left">“...บัดนี้การไปเยือนต่างประเทศดังกล่าวเป็นอันเสร็จสิ้นแล้ว ด้วยความเรียบร้อยทุกประการ การไปต่างประเทศครั้งนี้ อำนวยโอกาสให้เราได้เห็นชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศต่างๆ และได้เห็นขนบธรรมเนียม ประเพณี ของประเทศเหล่านั้นด้วยข้าพเจ้าได้พยายามอย่างดีที่สุด ที่จะปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมายไปกระทำในต่างประเทศคราวนี้ ทั้งได้ศึกษากิจการต่างๆ อันจะเป็นประโยชน์แก่บ้านเมืองของเรา
ต่อไป...”</span>
</center>
กระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาสขึ้นปีใหม่ ๒๕๐๔ วันที่ ๓๑ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๓


<div class="kindent">ช่วงระหว่างวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๐๓ - ๑๘ มกราคม ๒๕๐๔ เสด็จฯ ไปทรงเยือนสหรัฐอเมริกาและประเทศต่างๆ ในยุโรปอย่างเป็นทางการ รวม ๑๔ ประเทศ เป็นเวลานานถึง ๗ เดือน เพื่อทรงเชื่อมความสัมพันธไมตรีกับประเทศเหล่านั้นและทำให้นานาประเทศรู้จักประเทศไทยดีขึ้นมาก</div>
<div class="kindent">ช่วงระหว่างวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๐๓ - ๑๘ มกราคม ๒๕๐๔ เสด็จฯ ไปทรงเยือนสหรัฐอเมริกาและประเทศต่างๆ ในยุโรปอย่างเป็นทางการ รวม ๑๔ ประเทศ เป็นเวลานานถึง ๗ เดือน เพื่อทรงเชื่อมความสัมพันธไมตรีกับประเทศเหล่านั้นและทำให้นานาประเทศรู้จักประเทศไทยดีขึ้นมาก


<div class="kindent"><span style="color:#4C5714">"เป็นหน้าที่ของประมุขของประเทศ ในการไปเยี่ยมประเทศต่างๆ ข้าพเจ้าก็จะแสดงต่อประชาชนของประเทศเหล่านั้นว่า ประชาชนชาวไทย มีมิตรจิตมิตรใจต่อเขา และข้าพเจ้าจะพยายามเต็มที่ เพื่อให้ฝ่ายเขารู้จักเมืองไทยและให้เกิดมีน้ำใจดีต่อชาวไทย"</span>
<center>
<span style="display:block; width:90%; color:#00AEEF; text-align:left">"เป็นหน้าที่ของประมุขของประเทศ ในการไปเยี่ยมประเทศต่างๆ ข้าพเจ้าก็จะแสดงต่อประชาชนของประเทศเหล่านั้นว่า ประชาชนชาวไทย มีมิตรจิตมิตรใจต่อเขา และข้าพเจ้าจะพยายามเต็มที่ เพื่อให้ฝ่ายเขารู้จักเมืองไทยและให้เกิดมีน้ำใจดีต่อชาวไทย"</span>
</center>
</div>
</div>


บรรทัดที่ 19: บรรทัดที่ 27:
เมื่อเสด็จนิวัตสู่ประเทศไทย วันที่ ๑๘ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๔ รัฐบาลจัดพระราชพิธีสมโภชและได้พระราชทานพระราชดำรัสสรุปว่า
เมื่อเสด็จนิวัตสู่ประเทศไทย วันที่ ๑๘ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๔ รัฐบาลจัดพระราชพิธีสมโภชและได้พระราชทานพระราชดำรัสสรุปว่า


<div class="kindent"><span class="kgreen">"ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่า ภารกิจที่ได้พยายามปฏิบัติ คราวนี้ จะมีผลช่วยส่งเสริมสัมพันธภาพ ความสนิทสนมและความเข้าใจอันดี ระหว่างนานาชาติเหล่านั้นกับประเทศไทย"</span></div>
<center>
<span style="display:block; width:90%; color:#00AEEF; text-align:left">"ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่า ภารกิจที่ได้พยายามปฏิบัติ คราวนี้ จะมีผลช่วยส่งเสริมสัมพันธภาพ ความสนิทสนมและความเข้าใจอันดี ระหว่างนานาชาติเหล่านั้นกับประเทศไทย"</span>
</center>




บรรทัดที่ 27: บรรทัดที่ 37:




[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]]
[[หมวดหมู่:ในฐานะพระมหากษัตริย์]][[หมวดหมู่:ด้านการต่างประเทศ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 08:11, 5 ตุลาคม 2552

เสด็จฯ เยือนต่างประเทศ "ผูกมิตรจิต มิตรใจ"

การเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยือนต่างประเทศอย่างเป็นทางการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพุทธศักราช ๒๕๐๓ ส่งผลให้ภาพลักษณ์ของพระประมุขแห่งประเทศไทยและประเทศไทยได้ปรากฏบนเวทีโลก ซึ่งนอกจากจะทำให้ได้รับการยอมรับว่ามีฐานะทัดเทียมกับนานาอารยประเทศแล้ว พระราชจริยวัตรและพระราชกรณียกิจของพระองค์ยังได้รับการเผยแพร่อย่างกว้างขวางเป็นที่ยกย่องไปทั่วโลก ส่งผลทางอ้อมต่อสภาวะการเมืองเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยอย่างไม่อาจประเมินได้อาทิ ช่วยสร้างความมั่นคงให้แก่ราชอาณาจักร รวมถึงความสะดวกราบรื่นในการติดต่อประสานงานความร่วมมือในด้านต่างๆ กับมิตรประเทศ อันจะนำมาซึ่งประโยชน์โภคผลระหว่างประเทศและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ในด้านเกียรติคุณของประเทศเป็นการแสดงให้เห็นถึงความเป็นประเทศเสรีมีเอกราช มีศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิมีความสง่างามตามรากฐานวัฒนธรรมเก่าแก่และประวัติศาสตร์ที่รุ่งเรืองยาวนาน กอปรด้วยไมตรีจิตและมิตรภาพที่เปี่ยมไปด้วยความสุภาพอ่อนน้อมตามแบบวิถีตะวันออก และมีความเจริญรุ่งเรืองที่ทัดเทียมกับนานาอารยประเทศดังพระราชดำรัสที่ว่า

“...บัดนี้การไปเยือนต่างประเทศดังกล่าวเป็นอันเสร็จสิ้นแล้ว ด้วยความเรียบร้อยทุกประการ การไปต่างประเทศครั้งนี้ อำนวยโอกาสให้เราได้เห็นชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศต่างๆ และได้เห็นขนบธรรมเนียม ประเพณี ของประเทศเหล่านั้นด้วยข้าพเจ้าได้พยายามอย่างดีที่สุด ที่จะปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมายไปกระทำในต่างประเทศคราวนี้ ทั้งได้ศึกษากิจการต่างๆ อันจะเป็นประโยชน์แก่บ้านเมืองของเรา ต่อไป...”

กระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาสขึ้นปีใหม่ ๒๕๐๔ วันที่ ๓๑ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๓

ช่วงระหว่างวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๐๓ - ๑๘ มกราคม ๒๕๐๔ เสด็จฯ ไปทรงเยือนสหรัฐอเมริกาและประเทศต่างๆ ในยุโรปอย่างเป็นทางการ รวม ๑๔ ประเทศ เป็นเวลานานถึง ๗ เดือน เพื่อทรงเชื่อมความสัมพันธไมตรีกับประเทศเหล่านั้นและทำให้นานาประเทศรู้จักประเทศไทยดีขึ้นมาก

"เป็นหน้าที่ของประมุขของประเทศ ในการไปเยี่ยมประเทศต่างๆ ข้าพเจ้าก็จะแสดงต่อประชาชนของประเทศเหล่านั้นว่า ประชาชนชาวไทย มีมิตรจิตมิตรใจต่อเขา และข้าพเจ้าจะพยายามเต็มที่ เพื่อให้ฝ่ายเขารู้จักเมืองไทยและให้เกิดมีน้ำใจดีต่อชาวไทย"

เมื่อเสด็จนิวัตสู่ประเทศไทย วันที่ ๑๘ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๔ รัฐบาลจัดพระราชพิธีสมโภชและได้พระราชทานพระราชดำรัสสรุปว่า

"ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่า ภารกิจที่ได้พยายามปฏิบัติ คราวนี้ จะมีผลช่วยส่งเสริมสัมพันธภาพ ความสนิทสนมและความเข้าใจอันดี ระหว่างนานาชาติเหล่านั้นกับประเทศไทย"



ข้อมูลจาก หนังสือ ๘๐ พรรษา ปวงประชาสุขศานต์ จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ