ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์อัครศาสนูปถัมภก"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 10 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
<h1>องค์อัครศาสนูปถัมภก</h1> | __NOTOC__ | ||
<div id="bg_g8"> | |||
<center><h1>องค์อัครศาสนูปถัมภก</h1></center> | |||
<div | <h4>ทรงค้ำชูทุกศาสนาด้วยสถานะเดียวกัน</h4> | ||
<div class="kindent">กว่า ๖๐ ปี ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภกได้อย่างพรั่งพร้อม ทรงเกื้อกูล ค้ำจุนทุกศาสนาภายใต้พระบรมโพธิสมภารอย่างเสมอภาคและเท่าเทียม ทั้งศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ทุกนิกาย ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู และศาสนาซิกข์ ด้วยทรงเชื่อว่าทุกศาสนาล้วนสอนให้ทุกคนเป็นคนดีและการร่วมกันสร้างสรรค์ความดี คือการก่อเกิดสังคมที่ดี | |||
'''ศาสนาอิสลาม''' นับเป็นเวลาหลายคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้การอุปถัมภ์กิจการของศาสนาอิสลาม ด้วยพระราชหฤทัยอันเข้าใจอย่างลึกซึ้งในความสำคัญของศาสนา ดังจะเห็นได้จากการที่มีพระมหากรุณาธิคุณสนับสนุนพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อใช้ในการแปลพระคัมภีร์อัลกุรอานเป็นภาษาไทยขึ้นเมื่อ พุทธศักราช ๒๕๐๕ โดยที่มีพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า | |||
</div> | </div> | ||
<center> | |||
<span style="display:block; width:90%; color:#00AEEF; text-align:left">“...การที่ได้นำคัมภีร์อัลกุรอานมาให้ ตามที่ท่านจุฬาราชมนตรีได้เป็นธุระแปลจนสำเร็จ ก็เป็นที่น่ายินดีมากเพราะว่าเป็นการแปลคัมภีร์ให้เป็นภาษาไทยนั้น แปลอย่างดีและปราณีต มีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่ศึกษาศาสนา จะเป็นชาวอิสลามิกหรือไม่ได้เป็นชาวอิสลามิก แต่สนใจในศาสนา ก็เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง เพราะว่าได้ทราบข้อความสั่งสอนที่แท้จริง โดยที่มีอรรถรสที่ถูกต้อง...”</span> | |||
</center> | |||
พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในโอกาสที่คณะกรรมการจัดงานเมาลิดกลาง ฮ.ศ. ๑๔๐๐ เฝ้าฯ ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเงิน เพื่อโดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราชอัธยาศัย ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๒๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๒๘ | |||
[[ภาพ:051009-ศาสนา-02.jpg|left|200px]]<div class="kindent">ด้วยเหตุนี้พระคัมภีร์อัลกุรอานภาษาไทยฉบับแรกจึงได้รับการเผยแพร่เป็นครั้งแรกเมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๑ และยังทรงให้การสนับสนุนด้านพระราชทรัพย์ เพื่อการก่อสร้าง ซ่อมแซม และทำนุบำรุงมัสยิดในจังหวัดต่างๆ ที่มีชาวมุสลิมเป็นจำนวนมากอีกหลายคราว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเสด็จพระราชดำเนินไปในงานเมาลิดกลางซึ่งจัดขึ้นเป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสคล้ายวันประสูติของพระศาสดานบี มูฮัมหมัด อย่างสม่ำเสมอ ซึ่งในทุกครั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะมีกระแสพระราชดำรัสเกี่ยวกับการประกอบคุณงามความดี โดยเฉพาะการมอบความรัก ความสามัคคี ที่ไม่แบ่งแยกศาสนาให้แก่กันอยู่เสมอ</div> | |||
<div style="clear:both"></div> | |||
[[ภาพ:051009-ศาสนา-03.jpg|right|200px]]<div class="kindent">'''ศาสนาคริสต์''' ในส่วนของศาสนาคริสต์นั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนับสนุนกิจการของศาสนาตามวาระสำคัญต่างๆ อยู่เสมอ ทั้งยังเสด็จพระราชดำเนินไปในงานพิธีสำคัญๆ ของคริสต์ศาสนิกชนเป็นประจำ ที่สำคัญที่สุดคือ การเสด็จพระราชดำเนินเยือนนครรัฐวาติกัน เมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๒ เพื่อกระชับทางพระราชไมตรีระหว่างประเทศไทยกับคริสตจักร ณ กรุงวาติกัน และเพิ่มความแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น เมื่อสมเด็จพระสันตะปาปา จอห์น ปอล ที่ ๒ ได้เสด็จเยือนประเทศไทยในฐานะพระราชอาคันตุกะ ซึ่งนับว่าเป็นกรณีพิเศษยิ่ง เพราะเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่ประมุขคริสตจักรโรมันคาทอลิกเดินทางมาเยือนประเทศไทย | |||
<div style="clear:both"></div> | <div style="clear:both"></div> | ||
== | '''ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู''' เป็นอีกหนึ่งศาสนาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้การอุปถัมภ์ค้ำชูอย่างดียิ่ง ด้วยเป็นศาสนาเก่าแก่ที่อยู่คู่กับราชอาณาจักรไทยมาตั้งแต่กาลก่อน โดยได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้คณะพราหมณ์เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทเพื่อถวายพระพรชัยมงคล ตลอดจนเป็นผู้นำสำคัญในการประกอบพระราชพิธีสำคัญตามโบราณราชประเพณีเช่น ในพระราชพิธีเปลี่ยนเครื่องทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร พระราชพิธีฉัตรมงคล พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีหล่อพระพุทธรูปสำคัญต่างๆ พระราชพิธีจารึกพระสุพรรณบัฏในการสถาปนาพระอิสริยยศพระบรมราชวงศ์และพระราชทานสมณศักดิ์ พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ และพระเจ้าหลานเธอ เป็นต้น | ||
'''ศาสนาซิกข์''' ภายใต้การดูแลของสมาคมศรีคุรุสิงห์สภา นับเป็นอีกหนึ่งศาสนาที่ได้รับพระราชทานการอุปถัมภ์จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้วยดีมาโดยตลอด เช่น การพระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์ในงานต่างๆ เฉกเช่นเดียวกับองค์กรศาสนาอื่นๆ ทั้งยังทรงมุ่งหมายให้ศาสนิกชนชาวซิกข์ได้อาศัยอยู่ภายใต้พระบรมโพธิสมภารอย่างเป็นสุข ดังจะเห็นได้จากกระแสพระราชดำรัสที่ทรงมีต่อชาวซิกข์ ในงานฉลองครบรอบ ๕๐๐ ปี ศาสนาซิกข์ซึ่งจัดขึ้น ณ โรงละครแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๑๒ ความว่า | |||
</div> | |||
<center> | |||
<span style="display:block; width:90%; color:#00AEEF; text-align:left">“...ข้าพเจ้ายินดีและพอใจที่ผู้เป็นประธานของท่านกล่าวยืนยันว่า ชาวซิกข์ในประเทศไทยได้รับความสะดวกสบาย และได้รับความอุปถัมภ์ให้มีความผาสุกร่มเย็นพร้อมมูล...”</span> | |||
</center> | |||
[[ภาพ:051009-ศาสนา-01.jpg|center]] | |||
<div class="kindent">กว่า ๖๐ ปี ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประกอบพระราชกรณียกิจภายใต้อุดมการณ์แห่งธรรมะ ที่มิได้เป็นเพียงสรณะของพระองค์เท่านั้น หากแต่ยังทรงเป็นผู้นำแห่งธรรม ออกเผยแพร่ไปสู่ทุกผู้คน ให้ได้เข้าใจถึงแก่นแท้ของหลักธรรมอย่างง่าย ดังที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงปฏิบัติเป็นแบบอย่าง รวมถึงพระราชทานพระบรมราโชวาทในเรื่องการประกอบคุณงามความดี ด้วยความเพียร ความอุตสาหะ และความพยายามอย่างไม่ทรงย่อท้ออยู่เสมอ ทั้งนี้ ทรงมุ่งหวังให้เกิดสังคมที่ดีอันจะนำไปสู่ความเจริญก้าวหน้าของประเทศชาติทำให้ในวันนี้ประเทศไทยสามารถดำรงสถานะของการเป็นศูนย์รวมทางศาสนาที่เปี่ยมด้วยสันติสุขและเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่พุทธศาสนาของโลกอย่างสมภาคภูมิ ซึ่งทั้งหมดนี้ล้วนเป็นเพราะพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระผู้ทรงเป็น “ธรรมราชา” ของโลกอย่างแท้จริง | |||
</div> | |||
<h3>๒๕๐๙</h3> | |||
[[ภาพ:ศาสนาอิสลาม.jpg|left|frame | [[ภาพ:ศาสนาพุทธ.jpg|left|frame|๒๙ เมษายน ๒๕๑๖ ทรงพระราชทาน พระพุทธนวราชบพิตร แก่ราษฎรจังหวัด นครศรีธรรมราช]] ๒๙ เมษายน ๒๕๐๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระพุทธรูปปางมารวิชัยพระราชทานนามว่า "พระพุทธนวราชบพิตร" หน้าตักกว้าง ๒๓ เซนติเมตร สูง ๕๐ เซนติเมตร และพระราชทานให้ประดิษฐานยังวัดต่าง ๆ ทั่วราชอาณาจักร เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งความผูกพันระหว่างพสกนิกรกับพระองค์ ในฐานะ "องค์อัครศาสนูปถัมภก" | ||
</div> | |||
<div style="clear:both"></div> | |||
<h3>๒๕๑๓</h3> | |||
[[ภาพ:ศาสนาอิสลาม.jpg|left|frame|พุทธศักราช ๒๕๑๓ พระราชทานพระคัมภีร์อัลกุรอาน และคำแปลในภาษาไทย]]ในปี ๒๕๑๓ ได้พระราชทานพระคัมภีร์อัลกุรอานและคำแปลในภาษาไทยแก่คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดนราธิวาส เพื่อให้ชาวไทยมุสลิมที่อ่านภาษาอาหรับไม่ได้ สามารถเข้าใจในคำสอนจากพระคัมภีร์ | |||
"การศึกษาพระคัมภีร์ในทุกวันนี้ ยังกระทำไม่ได้สะดวกเต็มที่นัก เพราะผู้ศึกษาต้องเรียนรู้ภาษาอาหรับให้แตกฉานเป็นเบื้องต้นก่อน ซึ่งลำบากและกินเวลามาก ทำให้ผู้ที่ไม่มีโอกาสเรียนภาษาอาหรับเสียประโยชน์ที่ควรจะได้ไป แต่หากมีพระคัมภีร์ที่แปลเป็นภาษาของเราด้วย ก็จะทำให้ทุกคนมีโอกาสศึกษาได้โดยสะดวก" พระราชดำรัส เมื่อวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๑๒ | "การศึกษาพระคัมภีร์ในทุกวันนี้ ยังกระทำไม่ได้สะดวกเต็มที่นัก เพราะผู้ศึกษาต้องเรียนรู้ภาษาอาหรับให้แตกฉานเป็นเบื้องต้นก่อน ซึ่งลำบากและกินเวลามาก ทำให้ผู้ที่ไม่มีโอกาสเรียนภาษาอาหรับเสียประโยชน์ที่ควรจะได้ไป แต่หากมีพระคัมภีร์ที่แปลเป็นภาษาของเราด้วย ก็จะทำให้ทุกคนมีโอกาสศึกษาได้โดยสะดวก" พระราชดำรัส เมื่อวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๑๒ | ||
บรรทัดที่ 19: | บรรทัดที่ 49: | ||
[[หมวดหมู่: | |||
[[หมวดหมู่:ในฐานะพระมหากษัตริย์]] | |||
</div> |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:54, 5 ตุลาคม 2552
องค์อัครศาสนูปถัมภก
ทรงค้ำชูทุกศาสนาด้วยสถานะเดียวกัน
ศาสนาอิสลาม นับเป็นเวลาหลายคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้การอุปถัมภ์กิจการของศาสนาอิสลาม ด้วยพระราชหฤทัยอันเข้าใจอย่างลึกซึ้งในความสำคัญของศาสนา ดังจะเห็นได้จากการที่มีพระมหากรุณาธิคุณสนับสนุนพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อใช้ในการแปลพระคัมภีร์อัลกุรอานเป็นภาษาไทยขึ้นเมื่อ พุทธศักราช ๒๕๐๕ โดยที่มีพระราชดำรัสความตอนหนึ่งว่า
“...การที่ได้นำคัมภีร์อัลกุรอานมาให้ ตามที่ท่านจุฬาราชมนตรีได้เป็นธุระแปลจนสำเร็จ ก็เป็นที่น่ายินดีมากเพราะว่าเป็นการแปลคัมภีร์ให้เป็นภาษาไทยนั้น แปลอย่างดีและปราณีต มีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่ศึกษาศาสนา จะเป็นชาวอิสลามิกหรือไม่ได้เป็นชาวอิสลามิก แต่สนใจในศาสนา ก็เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง เพราะว่าได้ทราบข้อความสั่งสอนที่แท้จริง โดยที่มีอรรถรสที่ถูกต้อง...”
พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในโอกาสที่คณะกรรมการจัดงานเมาลิดกลาง ฮ.ศ. ๑๔๐๐ เฝ้าฯ ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเงิน เพื่อโดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราชอัธยาศัย ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน วันที่ ๒๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๒๘
ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เป็นอีกหนึ่งศาสนาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้การอุปถัมภ์ค้ำชูอย่างดียิ่ง ด้วยเป็นศาสนาเก่าแก่ที่อยู่คู่กับราชอาณาจักรไทยมาตั้งแต่กาลก่อน โดยได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้คณะพราหมณ์เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทเพื่อถวายพระพรชัยมงคล ตลอดจนเป็นผู้นำสำคัญในการประกอบพระราชพิธีสำคัญตามโบราณราชประเพณีเช่น ในพระราชพิธีเปลี่ยนเครื่องทรงพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร พระราชพิธีฉัตรมงคล พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีหล่อพระพุทธรูปสำคัญต่างๆ พระราชพิธีจารึกพระสุพรรณบัฏในการสถาปนาพระอิสริยยศพระบรมราชวงศ์และพระราชทานสมณศักดิ์ พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ และพระเจ้าหลานเธอ เป็นต้น
ศาสนาซิกข์ ภายใต้การดูแลของสมาคมศรีคุรุสิงห์สภา นับเป็นอีกหนึ่งศาสนาที่ได้รับพระราชทานการอุปถัมภ์จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้วยดีมาโดยตลอด เช่น การพระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์ในงานต่างๆ เฉกเช่นเดียวกับองค์กรศาสนาอื่นๆ ทั้งยังทรงมุ่งหมายให้ศาสนิกชนชาวซิกข์ได้อาศัยอยู่ภายใต้พระบรมโพธิสมภารอย่างเป็นสุข ดังจะเห็นได้จากกระแสพระราชดำรัสที่ทรงมีต่อชาวซิกข์ ในงานฉลองครบรอบ ๕๐๐ ปี ศาสนาซิกข์ซึ่งจัดขึ้น ณ โรงละครแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๑๒ ความว่า
“...ข้าพเจ้ายินดีและพอใจที่ผู้เป็นประธานของท่านกล่าวยืนยันว่า ชาวซิกข์ในประเทศไทยได้รับความสะดวกสบาย และได้รับความอุปถัมภ์ให้มีความผาสุกร่มเย็นพร้อมมูล...”
๒๕๐๙
๒๙ เมษายน ๒๕๐๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระพุทธรูปปางมารวิชัยพระราชทานนามว่า "พระพุทธนวราชบพิตร" หน้าตักกว้าง ๒๓ เซนติเมตร สูง ๕๐ เซนติเมตร และพระราชทานให้ประดิษฐานยังวัดต่าง ๆ ทั่วราชอาณาจักร เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งความผูกพันระหว่างพสกนิกรกับพระองค์ ในฐานะ "องค์อัครศาสนูปถัมภก"
๒๕๑๓
ในปี ๒๕๑๓ ได้พระราชทานพระคัมภีร์อัลกุรอานและคำแปลในภาษาไทยแก่คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดนราธิวาส เพื่อให้ชาวไทยมุสลิมที่อ่านภาษาอาหรับไม่ได้ สามารถเข้าใจในคำสอนจากพระคัมภีร์
"การศึกษาพระคัมภีร์ในทุกวันนี้ ยังกระทำไม่ได้สะดวกเต็มที่นัก เพราะผู้ศึกษาต้องเรียนรู้ภาษาอาหรับให้แตกฉานเป็นเบื้องต้นก่อน ซึ่งลำบากและกินเวลามาก ทำให้ผู้ที่ไม่มีโอกาสเรียนภาษาอาหรับเสียประโยชน์ที่ควรจะได้ไป แต่หากมีพระคัมภีร์ที่แปลเป็นภาษาของเราด้วย ก็จะทำให้ทุกคนมีโอกาสศึกษาได้โดยสะดวก" พระราชดำรัส เมื่อวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๑๒
**ข้อมูลจาก หนังสือ ๘๐ ทศวรรษแห่งการพัฒนา จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ