ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หญ้าแฝก"
จาก WIKI84
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
<div id="bg_g2t"> </div> | |||
<div id="bg_g2"> | |||
'''พืชมหัศจรรย์ : หญ้าแฝก''' | '''พืชมหัศจรรย์ : หญ้าแฝก''' | ||
<div style="display:inline-table; clear:both"> | <div style="display:inline-table; clear:both"> | ||
บรรทัดที่ 10: | บรรทัดที่ 12: | ||
<div style="display:block; clear:both"> | <div style="display:block; width:700px; clear:both"> | ||
'''แฝก...กำแพงธรรมชาติที่มีชีวิต''' | '''แฝก...กำแพงธรรมชาติที่มีชีวิต''' | ||
บรรทัดที่ 18: | บรรทัดที่ 20: | ||
<div style="display:table; padding-top:50px; clear:both"> | <div style="display:table; padding-top:50px; clear:both"> | ||
---- | ---- | ||
[[หมวดหมู่: | |||
</div> | |||
[[หมวดหมู่:แนวพระราชดำริ]][[หมวดหมู่:หญ้าแฝก]]</div> |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:22, 7 พฤศจิกายน 2551
พืชมหัศจรรย์ : หญ้าแฝก
ทรงศึกษาเอกสารของธนาคารโลกเกี่ยวกับการอนุรักษืหน้าดินด้วยหญ้าแฝก จึงให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ
ทำการศึกษาทดลองปลูกหญ้าแฝกเพื่ออนุรักษ์หน้าดิน โดยปลูกและขยายพันธุ์หญ้าแฝกในพื้นที่รูปแบบต่างๆ เช่น ขอบร่องน้ำ
แปลงมะม่วงหิมพานต์ บริเวณที่ลาดชัน หรือตามร่องน้ำธรรมชาติ นำหินไปกั้นเป็นฝายเล็กๆ แล้วปลูกหญ้าแฝกด้านหน้าหรือ
ในพื้นที่ทำการเกษตร เช่น แปลงปลูกข้าวโพด เป็นต้น ทั้งนี้ให้บันทึกภาพก่อนดำเนินการ และหลังดำเนินการไว้เป็นหลักฐาน
และให้ทุกโครงการในศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ ทำเป็นตัวอย่าง
ทำการศึกษาทดลองปลูกหญ้าแฝกเพื่ออนุรักษ์หน้าดิน โดยปลูกและขยายพันธุ์หญ้าแฝกในพื้นที่รูปแบบต่างๆ เช่น ขอบร่องน้ำ
แปลงมะม่วงหิมพานต์ บริเวณที่ลาดชัน หรือตามร่องน้ำธรรมชาติ นำหินไปกั้นเป็นฝายเล็กๆ แล้วปลูกหญ้าแฝกด้านหน้าหรือ
ในพื้นที่ทำการเกษตร เช่น แปลงปลูกข้าวโพด เป็นต้น ทั้งนี้ให้บันทึกภาพก่อนดำเนินการ และหลังดำเนินการไว้เป็นหลักฐาน
และให้ทุกโครงการในศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ ทำเป็นตัวอย่าง
แฝก...กำแพงธรรมชาติที่มีชีวิต
วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๔๐ เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ไปทรงติดตามการดำเนินงาน ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเพชรบุรี
"...งานอนุรักษ์ดินและน้ำบริเวณลุ่มน้ำเขาบ่อขิง เพื่อดำเนินการฟื้นฟูระบบนิเวศบริเวณลุ่มน้ำเขาบ่อขิง โดยทำคันดินเบนน้ำ (Diversion) ซึ่งเป็นการผสมผสานระหว่างคันดินเก็บกักน้ำ (Check Dam) กับคันดินกั้นน้ำ (Terracing) สามารถเก็บกักน้ำเพื่อสร้างความชุ่มชื้นแก่ดิน และป้องกันการพังทลายของดิน ให้ปลูกป่าและหญ้าแฝกตามแนว contour เมื่อเวลาฝนตกลงมาจะพัดพาเศษใบไม้มาติดอยู่ที่แนวหญ้าแฝกตามแนวหญ้าแฝก เป็นการทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ ให้ทดลองนำเอาตะกอนดินที่ไหลมาลงอ่างเล็ก ๆ ตามแนว Check Dam มาใช้ประโยชน์เป็นปุ๋ย..."