ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศพิธราชธรรม"

จาก WIKI84
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 10 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
<center>'''ทศพิธราชธรรม'''</center>
<div id="bg_g8">
<div id="bg_treeb">
<center><h1>ทศพิธราชธรรม</h1></center>


เป็นธรรมสำหรับพระมหากษัตริยาธิราชเจ้าผู้ปกครองประชาชน ตลอดจนเป็นธรรมสำหรับคนที่อยู่ด้วยกันเป็นหมู่เหล่าจนถึงประเทศชาติ พึงประพฤติต่อกันให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขประกอบด้วย
เป็นธรรมสำหรับพระมหากษัตริยาธิราชเจ้าผู้ปกครองประชาชน ตลอดจนเป็นธรรมสำหรับคนที่อยู่ด้วยกันเป็นหมู่เหล่าจนถึงประเทศชาติ พึงประพฤติต่อกันให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขประกอบด้วย
 
<center>
<gallery>
<gallery>
Image:ทาน.jpg|ทาน<br>การให้ที่เป็นประโยชน์ ทั้งวัตถุ<br>ทาน คือ การให้วัตถุสิ่งของ และ<br>ธรรมทาน คือการให้ธรรมโดย<br>การให้ปัญญา ความรู้ คำแนะ<br>นำที่เป็นประโยชน์ และยัง<br>หมายถึงการให้น้ำใจแก่ผู้อื่น<br>ด้วย
Image:ทาน.jpg|ทาน<br>การให้ที่เป็นประโยชน์ ทั้งวัตถุทาน คือ การให้วัตถุสิ่งของ และธรรมทาน คือการให้ธรรมโดยการให้ปัญญา ความรู้ คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ และยังหมายถึงการให้น้ำใจแก่ผู้อื่นด้วย
Image:ศีล.jpg|ศีล<br>ความประพฤติดีงาม ทั้งกาย<br> วาจา และใจ เว้นจากการ<br>ประพฤติชั่ว ทุจริต ประพฤติ<br>ปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย<br> จารีตประเพณีของบ้านเมือง
Image:ศีล.jpg|ศีล<br>ความประพฤติดีงาม ทั้งกาย วาจา และใจ เว้นจากการประพฤติชั่ว ทุจริต ประพฤติปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย จารีตประเพณีของบ้านเมือง
Image:ปริจจาค.jpg|ปริจจาค<br>พึงสละเพื่อประโยชน์ที่ใหญ่กว่า<br> เป็นการเสียสละประโยชน์หรือ<br>ความสุขส่วนตน และประพฤติ<br>ปฏิบัติเพื่อมุ่งประโยชน์สุขของ<br>คนหมู่มาก เป็นคุณสมบัติสำคัญ<br>ของผู้นำในการดำเนินชีวิตเพื่อ<br>ผู้อื่นอย่างแท้จริง
Image:ปริจจาค.jpg|ปริจจาค<br>พึงสละเพื่อประโยชน์ที่ใหญ่กว่า เป็นการเสียสละประโยชน์หรือความสุขส่วนตน และประพฤติปฏิบัติเพื่อมุ่งประโยชน์สุขของคนหมู่มาก เป็นคุณสมบัติสำคัญของผู้นำในการดำเนินชีวิตเพื่อผู้อื่นอย่างแท้จริง
Image:อาชชวะ.jpg|อาชชวะ<br>ความซื่อตรง ไม่ประพฤติหลอก<br>ลวงหรือหลีกเลี่ยงแอบแฝง คน<br>ที่อยู่รวมกันเป็นหมู่ ถ้าปฏิบัติ<br>ไม่ตรงในงานตามหน้าที่ ไม่ซื่อ<br>ตรงต่อกันและกัน จะเกิดความ<br>แตกร้าวอยู่เป็นสังคมที่สงบสุข<br>ไม่ได้
Image:อาชชวะ.jpg|อาชชวะ<br>ความซื่อตรง ไม่ประพฤติหลอกลวงหรือหลีกเลี่ยงแอบแฝง คนที่อยู่รวมกันเป็นหมู่ ถ้าปฏิบัติไม่ตรงในงานตามหน้าที่ ไม่ซื่อตรงต่อกันและกัน จะเกิดความแตกร้าวอยู่เป็นสังคมที่สงบสุขไม่ได้
Image:มัททวะ.jpg|มัททวะ<br>ความอ่อนโยนทั้งกายและใจ มี<br>สัมมาคารวะอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่<br> อ่อนโยนทั้งต่อผู้เสมอกว่าและ<br>ต่ำกว่า วางตนสม่ำเสมอ ไม่<br>กระด้างดูหมิ่นผู้อื่น พระบาท<br>สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็น<br>แบบอย่างที่คนไทยควรเอาเป็น<br>แบบอย่างในเรื่องนี้ โดยทรงมี<br>พระราชอัธยาศัยสุภาพ อ่อน<br>โยน ทั้งทางพระวรกาย พระ<br>วาจา และพระราชหฤทัยอย่าง<br>เพียบพร้อมสมบูรณ์ยากที่จะหา<br>ผู้ใดเสมอเหมือน
Image:มัททวะ.jpg|มัททวะ<br>ความอ่อนโยนทั้งกายและใจ มีสัมมาคารวะอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ อ่อนโยนทั้งต่อผู้เสมอกว่าและต่ำกว่า วางตนสม่ำเสมอ ไม่กระด้างดูหมิ่นผู้อื่น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นแบบอย่างที่คนไทยควรเอาเป็นแบบอย่างในเรื่องนี้ โดยทรงมีพระราชอัธยาศัยสุภาพ อ่อนโยน ทั้งทางพระวรกาย พระวาจา และพระราชหฤทัยอย่างเพียบพร้อมสมบูรณ์ยากที่จะหาผู้ใดเสมอเหมือน
Image:ตปะ.jpg|ตปะ<br>การบำเพ็ญเพื่อให้กิเลสเบาบาง<br> การตั้งใจทำหน้าที่ด้วยความ<br>เพียร พระบาทสมเด็จพระเจ้า<br>อยู่หัวมีพระวิริยะ ความเพียร<br>อันแรงกล้า ในอันที่จะสร้าง<br>ความสงบสุขร่มเย็นแก่<br>พสกนิกรของพระองค์ หากเรา<br>คนไทยจักปฏิบัติตนได้ตาม<br>เบื้องพระยุคลบาทสักเพียงนิด<br> ก็จะช่วยเสริมสร้างให้ประเทศ<br>ชาติมั่นคง
Image:ตปะ.jpg|ตปะ<br>การบำเพ็ญเพื่อให้กิเลสเบาบาง การตั้งใจทำหน้าที่ด้วยความเพียร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระวิริยะ ความเพียรอันแรงกล้า ในอันที่จะสร้างความสงบสุขร่มเย็นแก่พสกนิกรของพระองค์ หากเราคนไทยจักปฏิบัติตนได้ตามเบื้องพระยุคลบาทสักเพียงนิด ก็จะช่วยเสริมสร้างให้ประเทศชาติมั่นคง
Image:อักโกธะ.jpg|อักโกธะ<br>ความไม่โกรธ ไม่มุ่งร้ายคนอื่น<br> แม้จะต้องลงโทษผู้ทำผิด ก็ทำ<br>ตามเหตุผลเป็นไปด้วยความ<br>เที่ยงธรรม ปราศจากอคติ ไม่<br>ทำร้ายด้วยอำนาจความโกรธ
Image:อักโกธะ.jpg|อักโกธะ<br>ความไม่โกรธ ไม่มุ่งร้ายคนอื่น แม้จะต้องลงโทษผู้ทำผิด ก็ทำตามเหตุผลเป็นไปด้วยความเที่ยงธรรม ปราศจากอคติ ไม่ทำร้ายด้วยอำนาจความโกรธ
Image:อวิหิงสา.jpg|อวิหิงสา<br>ความไม่เบียดเบียนตนเองและ<br>ผู้อื่น มีพรหมวิหาร ๔ คือ<br> เมตตา กรุณา มุทิตาและ<br>อุเบกขา เป็นเครื่องแสดงออก<br> พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมี<br>พระราชอัธยาศัยกอปรด้วยพระ<br>เมตากรุณา ไม่ทรงเบียดเบียน<br>ผู้ใด
Image:อวิหิงสา.jpg|อวิหิงสา<br>ความไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น มีพรหมวิหาร ๔ คือ เมตตา กรุณา มุทิตาและอุเบกขา เป็นเครื่องแสดงออก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชอัธยาศัยกอปรด้วยพระเมตากรุณา ไม่ทรงเบียดเบียนผู้ใด
Image:ขันติ.jpg|ขันติ<br>ความอดทน อดกลั้นต่ออารมณ์<br>ทั้งปวง ไม่แสดงกิริยาวาจาตาม<br>อำนาจโลภะ โทสะ โมหะ และอด<br>ทนต่อทุกขเวทนาต่างๆ
Image:ขันติ.jpg|ขันติ<br>ความอดทน อดกลั้นต่ออารมณ์ทั้งปวง ไม่แสดงกิริยาวาจาตามอำนาจโลภะ โทสะ โมหะ และอดทนต่อทุกขเวทนาต่างๆ
Image:อวิโรธนะ.jpg|อวิโรธนะ<br>ความไม่ประพฤติผิดธรรม การ<br>วางตนเป็นหลักแน่นในธรรม<br> ไม่มีความเอนเอียงหวั่นไหว<br> เพราะถ้อยคำ ดี ร้าย สักการะ<br> หรืออิฏฐารมณ์ใดๆ ดังที่พระ<br>บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง<br>ปฏิบัติตามขัตติยราชประเพณี<br> ราชจรรยานุวัตร และราชธรรม<br>ทุกประการ
Image:อวิโรธนะ.jpg|อวิโรธนะ<br>ความไม่ประพฤติผิดธรรม การวางตนเป็นหลักแน่นในธรรม ไม่มีความเอนเอียงหวั่นไหว เพราะถ้อยคำ ดี ร้าย สักการะ หรืออิฏฐารมณ์ใดๆ ดังที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงปฏิบัติตามขัตติยราชประเพณี ราชจรรยานุวัตร และราชธรรมทุกประการ
</gallery>
</gallery>
 
</center>




บรรทัดที่ 24: บรรทัดที่ 26:


โดย สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.)
โดย สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.)
 
</div>
 
</div>
[[หมวดหมู่:รัชกาลที่9]][[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]]
[[หมวดหมู่:ในฐานะพระมหากษัตริย์]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:02, 27 พฤษภาคม 2552

ทศพิธราชธรรม

เป็นธรรมสำหรับพระมหากษัตริยาธิราชเจ้าผู้ปกครองประชาชน ตลอดจนเป็นธรรมสำหรับคนที่อยู่ด้วยกันเป็นหมู่เหล่าจนถึงประเทศชาติ พึงประพฤติต่อกันให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขประกอบด้วย



หนังสือตามรอยเบื้องพระยุคลบาท ด้วยทศพิธราชธรรม และหลักการทำงาน

จัดพิพม์เผยแพร่เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาศมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐

โดย สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.)