ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระดาบส(โครงการ)"

จาก WIKI84
(โครงการพระดาบส ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น พระดาบส(โครงการ))
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
<div id="bg_g3t">&nbsp;</div>
<div id="bg_g3t">&nbsp;</div>
<div id="bg_g3">
<div id="bg_g3">
<div id="bg_g0t">
<center><h3>โครงการพระดาบส</h3></center>
<h3>เกื้อกูลการศึกษาตลอดชีวิต</h3>
<div class="kindent">นอกจากการพระราชทานการสนับสนุนการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ทำให้ประชาชนซึ่งขาดโอกาสได้เรียนรู้จนสามารถอ่านออกเขียนได้แล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงส่งเสริมให้ประชาชนได้มีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องหรือการศึกษาตลอดชีวิต นอกเหนือไปจากการศึกษาในระบบโรงเรียน


<center><h3>โครงการพระดาบส </h3></center>
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังใส่พระราชหฤทัยต่อประชาชนผู้มีความตั้งใจจริง มีศรัทธาขวนขวายหาความรู้เป็นวิชาชีพใส่ตนหากแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ให้สามารถได้รับองค์ความรู้ไปพัฒนาตนเองและประกอบอาชีพได้
[[ภาพ:พระดาบส.jpg|left]]มิใช่เพียงการศึกษาในระบบโรงเรียนเท่านั้น ราษฎรที่ไม่ได้รับการศึกษาในโรงเรียนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงให้การสนับสนุนในลักษณะการจัดการศึกษานอกระบบด้วย โดยทรงริเริ่มโครงการพระดาบสขึ้น เมื่อ ปี ๒๕๑๘ โดยใช้วิธีการประสิทธิ์ประสาทวิชาแบบลูกศิษย์ของพระดาบส กล่าวคือ ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้ที่มีความตั้งใจศรัทธาอย่างแท้จริง ดังนั้น หากนำเอาวิธีการประสิทธิ์ประสาทวิชาการของพระดาบสมาประยุกต์ใช้ โดยจัดเป็นรูปการศึกษานอกระบบ นอกจากจะช่วยให้ผู้มาฝากตัวเป็นลูกศิษย์ได้รับความรู้สำหรับนำไปประกอบอาชีพในโอกาสต่อไปแล้ว ยังช่วยให้ผู้นั้นเป็นผู้ที่มีศีลธรรมจรรยา มีน้ำใจซึ่งจะส่งผลช่วยในการแก้ปัญหาสังคมส่วนรวมได้ผลยิ่งขึ้น เป็นที่น่ายินดีที่โรงเรียนผู้ใหญ่พระดาบส ได้รับความสนใจเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ จากข้อมูลในรายงานประจำปี ๒๕๔๗ ระบุว่า เมื่อปีการศึกษา ๒๕๔๒ มีผู้เข้ารับการศึกษาเพียง ๔๐ คน แต่ในปีการศึกษา ๒๕๔๗ มีผู้เข้ารับการศึกษาเพิ่มขึ้นเป็น ๑๓๕ คน
 
 


ในเดือนสิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๑๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดตั้ง'''โครงการพระดาบส'''พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เป็นค่าอาหาร ที่อยู่อาศัย เสื้อผ้า ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ในการฝึกอบรมเปิดโอกาสให้ผู้พ้นวัยเรียน หรืออยู่นอกระบบโรงเรียนโดยไม่จำกัดเพศ วัย วุฒิความรู้ และฐานะ สามารถศึกษาวิชาช่างตามความสนใจของตน โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น จนสามารถพัฒนาตนเองและนำความรู้มาเลี้ยงชีพได้ได้แก่ วิชาช่างไฟฟ้า ช่างวิทยุ ช่างเครื่องยนต์ ช่างประปาหรือนวดแผนไทย ที่สำคัญคือ นอกจากพระดาบสหรือครูผู้สอนจะประสิทธิ์ประสาทวิชาการต่างๆ เพื่อให้ลูกศิษย์หรือผู้เรียนนำความรู้ไปประกอบอาชีพแล้ว ยังช่วยสั่งสอนให้ลูกศิษย์เป็นผู้ที่มีศีลธรรมจรรยา มีน้ำใจ ซึ่งจะช่วยให้การแก้ปัญหาสังคมส่วนรวมได้ผลยิ่งขึ้น
</div>


[[ภาพ:พระดาบส.jpg|left]]จากข้อมูลในรายงานประจำปี ๒๕๔๗ ระบุว่า เมื่อปีการศึกษา ๒๕๔๒ มีผู้เข้ารับการศึกษาเพียง ๔๐ คน แต่ในปีการศึกษา ๒๕๔๗ มีผู้เข้ารับการศึกษาเพิ่มขึ้นเป็น ๑๓๕ คน




บรรทัดที่ 16: บรรทัดที่ 20:




{{ดูเพิ่มเติม}}
{{ดูเพิ่มเติม| [[การศึกษา]]}}





รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:00, 2 ตุลาคม 2552

 

โครงการพระดาบส

เกื้อกูลการศึกษาตลอดชีวิต

นอกจากการพระราชทานการสนับสนุนการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ทำให้ประชาชนซึ่งขาดโอกาสได้เรียนรู้จนสามารถอ่านออกเขียนได้แล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรงส่งเสริมให้ประชาชนได้มีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องหรือการศึกษาตลอดชีวิต นอกเหนือไปจากการศึกษาในระบบโรงเรียน

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังใส่พระราชหฤทัยต่อประชาชนผู้มีความตั้งใจจริง มีศรัทธาขวนขวายหาความรู้เป็นวิชาชีพใส่ตนหากแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ให้สามารถได้รับองค์ความรู้ไปพัฒนาตนเองและประกอบอาชีพได้

ในเดือนสิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๑๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดตั้งโครงการพระดาบสพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เป็นค่าอาหาร ที่อยู่อาศัย เสื้อผ้า ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ในการฝึกอบรมเปิดโอกาสให้ผู้พ้นวัยเรียน หรืออยู่นอกระบบโรงเรียนโดยไม่จำกัดเพศ วัย วุฒิความรู้ และฐานะ สามารถศึกษาวิชาช่างตามความสนใจของตน โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น จนสามารถพัฒนาตนเองและนำความรู้มาเลี้ยงชีพได้ได้แก่ วิชาช่างไฟฟ้า ช่างวิทยุ ช่างเครื่องยนต์ ช่างประปาหรือนวดแผนไทย ที่สำคัญคือ นอกจากพระดาบสหรือครูผู้สอนจะประสิทธิ์ประสาทวิชาการต่างๆ เพื่อให้ลูกศิษย์หรือผู้เรียนนำความรู้ไปประกอบอาชีพแล้ว ยังช่วยสั่งสอนให้ลูกศิษย์เป็นผู้ที่มีศีลธรรมจรรยา มีน้ำใจ ซึ่งจะช่วยให้การแก้ปัญหาสังคมส่วนรวมได้ผลยิ่งขึ้น

จากข้อมูลในรายงานประจำปี ๒๕๔๗ ระบุว่า เมื่อปีการศึกษา ๒๕๔๒ มีผู้เข้ารับการศึกษาเพียง ๔๐ คน แต่ในปีการศึกษา ๒๕๔๗ มีผู้เข้ารับการศึกษาเพิ่มขึ้นเป็น ๑๓๕ คน



ข้อมูลจาก หนังสือ ๘๐ พรรษา ปวงประชาสุขศานต์ จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ


ดูเพิ่มเติม การศึกษา