ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 9: | บรรทัดที่ 9: | ||
[[ภาพ:ทศ6-26.jpg|left|250px]]<div class="kindent">การปะทะต่อสู้เพื่อต้านภัยคอมมิวนิสต์และยืนหยัดถึงความเป็นประเทศโลกเสรี ทำให้เจ้าหน้าที่ทางการทั้งฝ่ายพลเรือน ทหาร ตำรวจ บาดเจ็บ พิการ และเสียชีวิตจำนวนไม่น้อย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินไปในพื้นที่เสี่ยงภัยของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์เสมอ แม้มิได้ทรงร่วมในยุทธภูมิแต่ก็เสด็จพระราชดำเนินไปประทับเคียงข้างทหารกล้าอย่างไม่ทรงหวั่นเกรง เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมเยียนเจ้าหน้าที่และประชาชนที่ได้รับบาดเจ็บจากการปะทะต่อสู้เพื่อพระราชทานขวัญและกำลังใจ รวมถึงพระราชทานความช่วยเหลือในรูปแบบต่างๆ เช่น พระราชทานเครื่องมือแพทย์ เวชภัณฑ์ พระราชทานเครื่องรับส่งวิทยุหรืออุปกรณ์ ส่งผลให้เครือข่ายการสื่อสารของทั้งฝ่ายทหารและตำรวจมีประสิทธิผลในการปฏิบัติงานมากขึ้น ครั้งหนึ่งทรงช่วยซ่อมแซมอาวุธปืนเอ็ม ๑๖ ด้วยพระองค์เองรวมไปถึงพระราชทานรถจี๊ปหรือเฮลิคอปเตอร์ เพื่อใช้ในการปฏิบัติภารกิจช่วยเหลือคุ้มครองประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย พระมหากรุณาธิคุณนี้ยังพระราชทานไปถึงประชาชนที่เป็นอาสาสมัครทำหน้าที่ช่วยเหลือบ้านเมืองเช่น หน่วยอาสารักษาดินแดน (อส.) ราษฎรอาสาสมัคร (รอส.) และไทยอาสาป้องกันชาติ (ทสปช.) เป็นต้น | [[ภาพ:ทศ6-26.jpg|left|250px]]<div class="kindent">การปะทะต่อสู้เพื่อต้านภัยคอมมิวนิสต์และยืนหยัดถึงความเป็นประเทศโลกเสรี ทำให้เจ้าหน้าที่ทางการทั้งฝ่ายพลเรือน ทหาร ตำรวจ บาดเจ็บ พิการ และเสียชีวิตจำนวนไม่น้อย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินไปในพื้นที่เสี่ยงภัยของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์เสมอ แม้มิได้ทรงร่วมในยุทธภูมิแต่ก็เสด็จพระราชดำเนินไปประทับเคียงข้างทหารกล้าอย่างไม่ทรงหวั่นเกรง เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมเยียนเจ้าหน้าที่และประชาชนที่ได้รับบาดเจ็บจากการปะทะต่อสู้เพื่อพระราชทานขวัญและกำลังใจ รวมถึงพระราชทานความช่วยเหลือในรูปแบบต่างๆ เช่น พระราชทานเครื่องมือแพทย์ เวชภัณฑ์ พระราชทานเครื่องรับส่งวิทยุหรืออุปกรณ์ ส่งผลให้เครือข่ายการสื่อสารของทั้งฝ่ายทหารและตำรวจมีประสิทธิผลในการปฏิบัติงานมากขึ้น ครั้งหนึ่งทรงช่วยซ่อมแซมอาวุธปืนเอ็ม ๑๖ ด้วยพระองค์เองรวมไปถึงพระราชทานรถจี๊ปหรือเฮลิคอปเตอร์ เพื่อใช้ในการปฏิบัติภารกิจช่วยเหลือคุ้มครองประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย พระมหากรุณาธิคุณนี้ยังพระราชทานไปถึงประชาชนที่เป็นอาสาสมัครทำหน้าที่ช่วยเหลือบ้านเมืองเช่น หน่วยอาสารักษาดินแดน (อส.) ราษฎรอาสาสมัคร (รอส.) และไทยอาสาป้องกันชาติ (ทสปช.) เป็นต้น | ||
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงห่วงใยเจ้าหน้าที่ที่พิการสูญเสียอวัยวะจากการต่อสู้กับผู้ก่อการร้าย เพราะเป็นการเสียสละร่างกายให้บ้านเมือง ควรที่จะได้รับการช่วยเหลือให้สามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข อันเป็นที่มาของการจัดตั้ง <span style="color:# | พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงห่วงใยเจ้าหน้าที่ที่พิการสูญเสียอวัยวะจากการต่อสู้กับผู้ก่อการร้าย เพราะเป็นการเสียสละร่างกายให้บ้านเมือง ควรที่จะได้รับการช่วยเหลือให้สามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข อันเป็นที่มาของการจัดตั้ง <span style="color:#2FA629">“ศูนย์ฝึกอาชีพพระราชทานเพื่อฝึกอาชีพให้แก่ทหารพิการ”</span> และการจัดตั้ง <span style="color:#2FA629">“มูลนิธิสายใจไทย”</span> ส่วนเจ้าหน้าที่ที่ต้องพลีชีพเพื่อชาตินั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานเพลิงศพเหล่าวีรชนที่วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหารบางเขน เป็นประจำทุกครั้ง เป็นเกียรติยศสูงสุดที่พระราชทานแก่ผู้สละชีพเพื่อชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระราชดำรัสแก่ผู้บริหารประเทศดำเนินการพัฒนาพื้นที่เสี่ยงภัยเหล่านั้นและพื้นที่ในชนบทอื่นๆ อย่างกว้างขวาง ทั้งด้านการคมนาคม การศึกษา สาธารณสุข และการส่งเสริมอาชีพ ที่ล้วนเป็นประโยชน์ต่อประชาชนทั้งสิ้น ทรงเชื่อมั่นว่าถ้าประชาราษฎร์มีความอยู่ดีกินดีแล้ว ย่อมยินดีในความสงบสันติมากกว่าการต่อสู้รบราฆ่าฟันกัน จึงทรงสามารถดึงประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองทีละน้อยเป็นขั้นเป็นตอน อันนำไปสู่การพัฒนาความมั่นคงของ | ||
การปกครองระบอบประชาธิปไตย | การปกครองระบอบประชาธิปไตย | ||
</div> | </div> |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:09, 2 ตุลาคม 2552
ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ช่วงต้นทศวรรษที่ ๒๕๐๐ การขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รุนแรงมาก ประเทศเพื่อนบ้านได้แก่เวียดนามเกิดสงครามกลางเมืองระหว่างฝ่ายโลกเสรีกับฝ่ายคอมมิวนิสต์ มีการขยายอุดมการณ์เข้ามาในประเทศ อดีตอาณานิคมฝรั่งเศส คือ ลาวและกัมพูชา และประเทศไทย ต่างประสบปัญหาการแทรกซึมของขบวนการนี้ เฉพาะประเทศไทยครอบคลุมพื้นที่หลายจังหวัด ความรุนแรงถึงระดับปะทะกัน ต้องใช้กำลังกองทัพปราบปราม ซึ่งกินเวลายาวนานกว่าสองทศวรรษ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงห่วงใยเจ้าหน้าที่ที่พิการสูญเสียอวัยวะจากการต่อสู้กับผู้ก่อการร้าย เพราะเป็นการเสียสละร่างกายให้บ้านเมือง ควรที่จะได้รับการช่วยเหลือให้สามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข อันเป็นที่มาของการจัดตั้ง “ศูนย์ฝึกอาชีพพระราชทานเพื่อฝึกอาชีพให้แก่ทหารพิการ” และการจัดตั้ง “มูลนิธิสายใจไทย” ส่วนเจ้าหน้าที่ที่ต้องพลีชีพเพื่อชาตินั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานเพลิงศพเหล่าวีรชนที่วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหารบางเขน เป็นประจำทุกครั้ง เป็นเกียรติยศสูงสุดที่พระราชทานแก่ผู้สละชีพเพื่อชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระราชดำรัสแก่ผู้บริหารประเทศดำเนินการพัฒนาพื้นที่เสี่ยงภัยเหล่านั้นและพื้นที่ในชนบทอื่นๆ อย่างกว้างขวาง ทั้งด้านการคมนาคม การศึกษา สาธารณสุข และการส่งเสริมอาชีพ ที่ล้วนเป็นประโยชน์ต่อประชาชนทั้งสิ้น ทรงเชื่อมั่นว่าถ้าประชาราษฎร์มีความอยู่ดีกินดีแล้ว ย่อมยินดีในความสงบสันติมากกว่าการต่อสู้รบราฆ่าฟันกัน จึงทรงสามารถดึงประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองทีละน้อยเป็นขั้นเป็นตอน อันนำไปสู่การพัฒนาความมั่นคงของ การปกครองระบอบประชาธิปไตย