ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปริญญาฯ-มหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดา"
จาก WIKI84
(New page: ปริญญาฯ-มหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดา ---- หมวดหมู่:ปริญญาฯ) |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 5 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
<div id="king"> | |||
<center><h5>(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)</h5> | |||
'''คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช<br />ในโอกาสที่มหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดา สาธารณรัฐอนโดนีเซีย'''<br />'''ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์<br />ณ มหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดา วันศุกร์ ที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๐๓'''</center> | |||
</div> | |||
<div id="king2"> | |||
ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม | |||
<div class="kindent">ณ บัดนี้ ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทประทับอยู่ในหอประชุมซึ่งปวงข้าพระพุทธเจ้าถือว่า มีความสำคัญ ทางประวัติศาสตร์เป็นอย่างยิ่ง ในอดีตอันเนิ่นนาน หอประชุมแห่งนี้เคยเป็นสถานที่ซึ่งกษัตริย์แห่งจอกจาการ์ตาเสด็จออกทรงรับ พระราชอาคันตุกะผู้ทรงเกียรติ และเสด็จออกทรงรับ การถวาย สัตย์ปฏิญาณ ของพระบรมวงศ์สานุวงศ์ เหล่าข้าราชการและประชาชนในพิธีอันยิ่งใหญ่ปีละหลายครั้ง เมื่อไม่นานมานี้ หอประชุมแห่งนี้ก็ได้เป็นสถานที่ ดำเนิน พิธีการสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน กล่าวคือ การอภิปรายเพื่อร่างรัฐธรรมนูญที่มีความสำคัญยิ่งยวดต่อการตัดสินอนาคตของประเทศ และสถานที่นี้ ยังได้เป็น ที่ประกอบพิธีสถาปนา ฯพณฯ ประธานาธิบดีซูการ์โน เป็นประมุขของรัฐอธิปไตย ซึ่งประชาคมนานาชาติต่างให้การยอมรับโดยเต็มที่ | |||
</div> | |||
<div class="kindent">ในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดาใช้หอประชุมแห่งนี้เป็นสถานที่จัดงานพิธีการ และต้อนรับอาคันตุกะผู้ทรงเกียรติ | |||
</div> | |||
<div class="kindent">ดังนั้น เมื่อใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาททรงพระกรุณารับคำกราบบังคมทูลเชิญของมหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดา เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเยือนมหาวิทยาลัย และทรงรับการทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ปริญญาสูงสุดของมหาวิทยาลัย ปวงข้าพระพุทธเจ้าต่างรู้สึกซาบซึ้งใจ เป็นอย่างยิ่ง เมื่อตระหนักถึงประวัติศาสตร์อันยาวนาน ของประเทศของใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท | |||
</div> | |||
<div class="kindent">ในช่วงเวลาที่ทวีปเอชียตกอยู่ในภาวะสับสนอลหม่าน เพราะพลังอำนาจองลัทธิจักรวรรดินิยม ทำลายล้างรัฐอิสระ และโหมกระหน่ำทุกแห่งหน ประเทศของใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทสามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง ประดุจหินผาและสามารถธำรงอยู่อย่างปลอดภัย และสันติสุข มิใช่เพียงแต่ในอดีตอันไกลโพ้นเท่านั้น แม้เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๒ ประเทศไทยก็ยังธำรงอยู่ได้ ทั้งที่มีการอ้างสิทธิรุกรานเขตแดนของประเทศต่างๆ หลายครั้งหลายคา | |||
</div> | |||
<div class="kindent">มหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดาซึ่งถือกำเนิดจากการปฏิวัติที่ประเทศนี้มิเคยประสบมาก่อน รู้สึกชื่นชมในความแข็งแกร่ง ของประเทศของใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทในด้านความสัมพันธ์กับนานาประเทศ | |||
</div> | |||
<div class="kindent">จาก[[การศึกษา]]ประวัติศาสตร์องประเทศของใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท พระมหากษัตริย์ทรงมีบทบาทสำคัญยิ่ง ในการดำเนินชีวิตทางสังคม เช่นเดียวกันกับราชสำนักอื่นๆ ในทวีปเอเชีย พระมหากษัตริย์ไทย ทรงอุปถัมภ์[[ศิลปะ]]แขนงต่างๆ ได้แก่ นาฏศิลป์ [[ดนตรี]] และวรรณคดี ดังนั้น วัฒนธรรมพื้นเมืองจึงสามารถ พัฒนาควบคู่ไปกับแบบแผนการดำเนินชีวิตของชาวบ้านได้ | |||
</div> | |||
<div class="kindent">สิ่งที่ควรแก่การเฉลิมพระเกียรติเป็นอย่างยิ่ง คือ การที่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทสนพระราชหฤทัย ในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ และละครเรื่องอิเหนา ในพระราชวัง ซึ่งล้วนเป็นเรื่องที่รู้จักกันดีในหมู่ประชาชนของประเทศของข้าพระพุทธเจ้า | |||
</div> | |||
<div class="kindent">ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ ๑๗ ประเทศไทยได้ตระหนักถึงอิทธิพลตะวันตกที่เข้ามามีบทบาทสำคัญ พระมหากษัตริย์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอหลายพระองค์เสด็จไปยังราชสำนัก ในยุโรปเพื่อทรงศึกษา วัฒนธรรมของโลกตะวันตก | |||
</div> | |||
<div class="kindent">แม้วัฒนธรรมตะวันตกจะมีอิทธิพลอย่างมากต่อทวีปเอชีย พสกนิกรของใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ก็มิได้ยอมลดตนอยู่ใต้อิทธิพลนั้น | |||
</div> | |||
<div class="kindent">สิ่งที่น่าชื่นชมก็คือ แม้ว่าใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาททรงคุ้นเคยกับโลกตะวันตก และอารยธรรมตะวันตก เป็นอย่างดี แต่ก็มิได้ทรงละเลยเรื่องศาสนา ดังจะเห็นได้จากการที่ทรง พระราชกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งให้ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการ แทนพระองค์ ในระหว่างที่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาททรงพระผนวช แสดงถึงความเอาพระราชหฤทัยใส่ ในขนบธรรมเนียมประเพณีของประเทศอย่างลึกซึ้ง | |||
</div> | |||
<div class="kindent">ยิ่งไปกว่านั้น ความสนพระราชหฤทัยในความก้าวหน้าของนิสิตนักศึกษา โดยการเสด็จพระราชดำเนิน ไปพระราชทานปริญญาบัตรด้วยพระองค์เอง ทำให้ข้าพระพุทธเจ้าทั้งปวงรู้สึกชื่นชมเป็นอย่างยิ่ง ด้วยเป็นสิ่งที่แสดงถึงการเอาพระราชหฤทัยใส่ใน[[การศึกษา]]ของประเทศ | |||
</div> | |||
<div class="kindent">เมื่อพิจารณาถึงสิ่งทั้งปวงที่ข้าพระพุทธเจ้าได้กราบบังคมทูลพระกรุณามา ณ ที่นี้ และโดยอาศัย แนวคิดด้านศาสนา ของมหาวิทยาลัย นั่นคือ อุดมคติของประชาชนชาวอินโดนีเซียและปรัชญาพื้นฐานของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ซึ่งปรากฎอยู่ใน หลักปัญจะ-สีละ สภามหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดาขอประกาศว่า ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาททรงดำรงพระองค์เป็นผู้กอปรด้วยคุณความดีที่ยิ่งใหญ่ตามความหมายในมาตรา ๒๐ วรรค ๒ แห่งกฎบัตรของมหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดา ซึ่งระบุไว้ในประกาศของรัฐบาลข้อที่ ๓๗, ๑๙๕๐ โดยอาศัยอำนาจแห่งมาตราดังกล่าว ด้วยพระราชจริยวัตร ที่เปี่ยมล้นด้วย คุณความดีในด้านวัฒนธรรม สภามหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดาจึงขอพระราชทานทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ด้วยสิทธิ์ หน้าที่ และเกียรติยศ แห่งปริญญานี้ทุกประการ | |||
</div> | |||
<p align="right" style="margin-right: 20%;">ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ</p> | |||
---- | ---- | ||
[[ภาพ:มหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดา.jpg|อธิการบดีมหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดาอ่านคำประกาศสดุดีพระเกียติคุณ|center]] | |||
<center>อธิการบดีมหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย อ่านคำประกาศสดุดีพระเกียติคุณ<br/> | |||
ในพิธีทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ณ มหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดา<br /> | |||
เมืองจอกจาการ์ตา สาธารณรัฐอินโดนีเซีย เมือวันศุกร์ที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๓</center> | |||
---- | |||
{{แม่แบบ:เมนูประมวลคำสดุดี}} | |||
[[หมวดหมู่:ปริญญาฯ]] | [[หมวดหมู่:ปริญญาฯ]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 04:29, 15 กรกฎาคม 2551
(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)
คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในโอกาสที่มหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดา สาธารณรัฐอนโดนีเซีย
ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
ณ มหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดา วันศุกร์ ที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๐๓
ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม
ณ บัดนี้ ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทประทับอยู่ในหอประชุมซึ่งปวงข้าพระพุทธเจ้าถือว่า มีความสำคัญ ทางประวัติศาสตร์เป็นอย่างยิ่ง ในอดีตอันเนิ่นนาน หอประชุมแห่งนี้เคยเป็นสถานที่ซึ่งกษัตริย์แห่งจอกจาการ์ตาเสด็จออกทรงรับ พระราชอาคันตุกะผู้ทรงเกียรติ และเสด็จออกทรงรับ การถวาย สัตย์ปฏิญาณ ของพระบรมวงศ์สานุวงศ์ เหล่าข้าราชการและประชาชนในพิธีอันยิ่งใหญ่ปีละหลายครั้ง เมื่อไม่นานมานี้ หอประชุมแห่งนี้ก็ได้เป็นสถานที่ ดำเนิน พิธีการสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน กล่าวคือ การอภิปรายเพื่อร่างรัฐธรรมนูญที่มีความสำคัญยิ่งยวดต่อการตัดสินอนาคตของประเทศ และสถานที่นี้ ยังได้เป็น ที่ประกอบพิธีสถาปนา ฯพณฯ ประธานาธิบดีซูการ์โน เป็นประมุขของรัฐอธิปไตย ซึ่งประชาคมนานาชาติต่างให้การยอมรับโดยเต็มที่
ในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดาใช้หอประชุมแห่งนี้เป็นสถานที่จัดงานพิธีการ และต้อนรับอาคันตุกะผู้ทรงเกียรติ
ดังนั้น เมื่อใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาททรงพระกรุณารับคำกราบบังคมทูลเชิญของมหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดา เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเยือนมหาวิทยาลัย และทรงรับการทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ปริญญาสูงสุดของมหาวิทยาลัย ปวงข้าพระพุทธเจ้าต่างรู้สึกซาบซึ้งใจ เป็นอย่างยิ่ง เมื่อตระหนักถึงประวัติศาสตร์อันยาวนาน ของประเทศของใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท
ในช่วงเวลาที่ทวีปเอชียตกอยู่ในภาวะสับสนอลหม่าน เพราะพลังอำนาจองลัทธิจักรวรรดินิยม ทำลายล้างรัฐอิสระ และโหมกระหน่ำทุกแห่งหน ประเทศของใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทสามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง ประดุจหินผาและสามารถธำรงอยู่อย่างปลอดภัย และสันติสุข มิใช่เพียงแต่ในอดีตอันไกลโพ้นเท่านั้น แม้เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๒ ประเทศไทยก็ยังธำรงอยู่ได้ ทั้งที่มีการอ้างสิทธิรุกรานเขตแดนของประเทศต่างๆ หลายครั้งหลายคา
มหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดาซึ่งถือกำเนิดจากการปฏิวัติที่ประเทศนี้มิเคยประสบมาก่อน รู้สึกชื่นชมในความแข็งแกร่ง ของประเทศของใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทในด้านความสัมพันธ์กับนานาประเทศ
จากการศึกษาประวัติศาสตร์องประเทศของใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท พระมหากษัตริย์ทรงมีบทบาทสำคัญยิ่ง ในการดำเนินชีวิตทางสังคม เช่นเดียวกันกับราชสำนักอื่นๆ ในทวีปเอเชีย พระมหากษัตริย์ไทย ทรงอุปถัมภ์ศิลปะแขนงต่างๆ ได้แก่ นาฏศิลป์ ดนตรี และวรรณคดี ดังนั้น วัฒนธรรมพื้นเมืองจึงสามารถ พัฒนาควบคู่ไปกับแบบแผนการดำเนินชีวิตของชาวบ้านได้
สิ่งที่ควรแก่การเฉลิมพระเกียรติเป็นอย่างยิ่ง คือ การที่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทสนพระราชหฤทัย ในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ และละครเรื่องอิเหนา ในพระราชวัง ซึ่งล้วนเป็นเรื่องที่รู้จักกันดีในหมู่ประชาชนของประเทศของข้าพระพุทธเจ้า
ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ ๑๗ ประเทศไทยได้ตระหนักถึงอิทธิพลตะวันตกที่เข้ามามีบทบาทสำคัญ พระมหากษัตริย์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอหลายพระองค์เสด็จไปยังราชสำนัก ในยุโรปเพื่อทรงศึกษา วัฒนธรรมของโลกตะวันตก
แม้วัฒนธรรมตะวันตกจะมีอิทธิพลอย่างมากต่อทวีปเอชีย พสกนิกรของใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ก็มิได้ยอมลดตนอยู่ใต้อิทธิพลนั้น
สิ่งที่น่าชื่นชมก็คือ แม้ว่าใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาททรงคุ้นเคยกับโลกตะวันตก และอารยธรรมตะวันตก เป็นอย่างดี แต่ก็มิได้ทรงละเลยเรื่องศาสนา ดังจะเห็นได้จากการที่ทรง พระราชกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งให้ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการ แทนพระองค์ ในระหว่างที่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาททรงพระผนวช แสดงถึงความเอาพระราชหฤทัยใส่ ในขนบธรรมเนียมประเพณีของประเทศอย่างลึกซึ้ง
ยิ่งไปกว่านั้น ความสนพระราชหฤทัยในความก้าวหน้าของนิสิตนักศึกษา โดยการเสด็จพระราชดำเนิน ไปพระราชทานปริญญาบัตรด้วยพระองค์เอง ทำให้ข้าพระพุทธเจ้าทั้งปวงรู้สึกชื่นชมเป็นอย่างยิ่ง ด้วยเป็นสิ่งที่แสดงถึงการเอาพระราชหฤทัยใส่ในการศึกษาของประเทศ
เมื่อพิจารณาถึงสิ่งทั้งปวงที่ข้าพระพุทธเจ้าได้กราบบังคมทูลพระกรุณามา ณ ที่นี้ และโดยอาศัย แนวคิดด้านศาสนา ของมหาวิทยาลัย นั่นคือ อุดมคติของประชาชนชาวอินโดนีเซียและปรัชญาพื้นฐานของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ซึ่งปรากฎอยู่ใน หลักปัญจะ-สีละ สภามหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดาขอประกาศว่า ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาททรงดำรงพระองค์เป็นผู้กอปรด้วยคุณความดีที่ยิ่งใหญ่ตามความหมายในมาตรา ๒๐ วรรค ๒ แห่งกฎบัตรของมหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดา ซึ่งระบุไว้ในประกาศของรัฐบาลข้อที่ ๓๗, ๑๙๕๐ โดยอาศัยอำนาจแห่งมาตราดังกล่าว ด้วยพระราชจริยวัตร ที่เปี่ยมล้นด้วย คุณความดีในด้านวัฒนธรรม สภามหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดาจึงขอพระราชทานทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ด้วยสิทธิ์ หน้าที่ และเกียรติยศ แห่งปริญญานี้ทุกประการ
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ
ในพิธีทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ณ มหาวิทยาลัยกาดจาห์มาดา
หน้าแรกประมวลคำสดุดีพระเกียรติคุณฯ | บัญชีปริญญาดุษฎีบัณฑิตฯ | บัญชีตำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ฯ | บัญชีรางวัลฯ | พระราชกรณียกิจ |