ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปริญญาฯ-มหาวิทยาลัยวูลลองกอง"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 2 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
<div id="king"> | <div id="king"> | ||
<center>(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)<br>'''คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช<br>ในโอกาสที่มหาวิทยาลัยวูลลองกอง เครือรัฐออสเตรเลีย'''<br> | <center><h5>(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)</h5><br>'''คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช<br>ในโอกาสที่มหาวิทยาลัยวูลลองกอง เครือรัฐออสเตรเลีย'''<br> | ||
'''ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แห่งมหาวิทยาลัยวูลลองกอง<br>ณ วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์<br>วันพุธ ที่ ๒๗ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๔๕'''</center> | '''ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แห่งมหาวิทยาลัยวูลลองกอง<br>ณ วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์<br>วันพุธ ที่ ๒๗ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๔๕'''</center> | ||
</div> | </div> | ||
บรรทัดที่ 6: | บรรทัดที่ 6: | ||
<div class="kindent">มหาวิทยาลัยวูลลองกองมีความยินดีที่ได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แห่งมหาวิทยาลัยวูลลองกอง แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระมหากษัตริย์แห่งประเทศไทยเพื่อเป็นการสดุดีพระเกียรติคุณที่โดดเด่น ในด้านทางเป็นผู้นำและมีมนุษยธรรม พระราชจริยวัตรแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวล้วนเป็นแรงบันดาลใจ ให้ปวงข้าพระพุทธเจ้าได้ดำเนินรอยตามเบื้องพระยุคลบาท | <div class="kindent">มหาวิทยาลัยวูลลองกองมีความยินดีที่ได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แห่งมหาวิทยาลัยวูลลองกอง แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระมหากษัตริย์แห่งประเทศไทยเพื่อเป็นการสดุดีพระเกียรติคุณที่โดดเด่น ในด้านทางเป็นผู้นำและมีมนุษยธรรม พระราชจริยวัตรแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวล้วนเป็นแรงบันดาลใจ ให้ปวงข้าพระพุทธเจ้าได้ดำเนินรอยตามเบื้องพระยุคลบาท | ||
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระบรมราชสมภพ ณ สหรัฐอเมริกา ในพุทธศักราช ๒๔๗๐ และได้ทรงศึกษา ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งขณะนั้นเป็นที่ตั้งขององค์การสันนิบาต อุดมการณ์แห่งองค์การสันนิบาตดังกล่าวไม่ว่าจะเป็นมิตรภาพระดับนานาชาติ การช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ตลอดจนแนวทางแห่งสันติภาพ ได้ประทับอยู่ในพระราชหฤทัยตลอดมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นที่เคารพยกย่อง ได้ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจตามพระราชปณิธาน ซึ่งสอดคล้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัยวูลลองกองในความพยายามที่จะพัฒนา และเชื่อมโยงมนุษย์กับเทคโนโลยี “เพื่อประโยชน์สุขแห่งภูมิภาค ประเทศชาติ และประชาคมนานาชาติ” | |||
การที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงนำสถาบันพระมหากษัตริย์ให้ใกล้ชิดกับประชาชนทั่วทุกภูมิภาค ถือเป็นความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเป็นพิเศษ ทรงริเริ่มโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริมากมาย ที่จะช่วยสนับสนุนส่งเสริมให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ และมีความคิดริเริ่มโครงการในท้องถิ่น ทรงส่งเสริมการใช้วิทยาการด้านเทคโนโลยีที่เหมาะสม และการอนุรักษ์ตลอดจนพัฒนา[[การแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ|ทรัพยากรธรรมชาติ]] พระองค์มิเคยทรงย่อท้อต่อพระราชภารกิจที่ทรงกำหนดด้วยพระองค์เอง ทรงสละเวลาและทรงพระวิริยอุตสาหะในกิจการเพื่อประโยชน์สุขแห่งพสกนิกรของพระองค์ อันที่จริงแล้วนับได้ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเปี่ยมด้วยคุณลักษณะแห่งบัณฑิตของมหาวิทยาลัยวูลลองกอง กล่าวคือ ความมีจริยธรรม ความมุ่งมั่นที่จะค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหาให้ดียิ่งขึ้น และการมีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงสังคม รวมไปถึงการยอมรับความเป็นปัจเจกชน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองประเทศชาติด้วยพระปรีชาสามารถ และทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจอันนำมาซึ่งความสงบสุขและความเป็นเอกราช | |||
มหาวิทยาลัยวูลลองกองถือเป็นเกียรติอันสูงส่งที่ได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แห่งมหาวิทยาลัยวูลลองกอง แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระมหากษัตริย์แห่งประเทศไทย | |||
บรรทัดที่ 19: | บรรทัดที่ 22: | ||
[[ภาพ:มหาวิทยาลัยวูลลองกอง.jpg| center]] | [[ภาพ:มหาวิทยาลัยวูลลองกอง.jpg|นายกสภามหาวิทยาลัยวูลลองกองและศาสตราจารย์ เจอราร์ด ซุสตัน อธิการบดีมหาวิทยาลัยวูลลองกอง เครือรัฐออสเตรเลีย และคณะเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาททูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แห่งมหาวิทยาลัยวูลลองกอง|center]] | ||
<center> ศาสตราจารย์ ร้อยตำรวจเอก วรเดช จันทรศร ปลัดทบวงมหาวิทยาลัย นำนายไมเคิล คอดด์ นายกสภามหาวิทยาลัยวูลลองกอง<br> และศาสตราจารย์เจอราร์ด ซุสตัน อธิการบดีมหาวิทยาลัยวูลลองกอง เครือรัฐออสเตรเลีย และคณะ<br>เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาททูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แห่งมหาวิทยาลัยวูลลองกอง <br>ณ ท้องพระโรงศาลาเริง วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์<br>วันพุธ ที่ ๒๗ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๔๕</center> | <center> ศาสตราจารย์ ร้อยตำรวจเอก วรเดช จันทรศร ปลัดทบวงมหาวิทยาลัย นำนายไมเคิล คอดด์ นายกสภามหาวิทยาลัยวูลลองกอง<br> และศาสตราจารย์เจอราร์ด ซุสตัน อธิการบดีมหาวิทยาลัยวูลลองกอง เครือรัฐออสเตรเลีย และคณะ<br>เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาททูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แห่งมหาวิทยาลัยวูลลองกอง <br>ณ ท้องพระโรงศาลาเริง วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์<br>วันพุธ ที่ ๒๗ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๔๕</center> | ||
[[ภาพ:มหาวิทยาลัยวูลลองกอง2.jpg| center]] | [[ภาพ:มหาวิทยาลัยวูลลองกอง2.jpg|ปริญญาบัตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ที่มหาวิทยาลัยวูลลองกอง ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย|center]] | ||
<center>ปริญญาบัตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ที่มหาวิทยาลัยวูลลองกอง ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย<br>เพื่อสดุดีพระเกียรติคุณและพระปรีชาสามารถในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆ | <center>ปริญญาบัตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ที่มหาวิทยาลัยวูลลองกอง ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย<br>เพื่อสดุดีพระเกียรติคุณและพระปรีชาสามารถในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆ | ||
</center> | </center> |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 04:46, 15 กรกฎาคม 2551
(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)
คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ในโอกาสที่มหาวิทยาลัยวูลลองกอง เครือรัฐออสเตรเลีย
ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แห่งมหาวิทยาลัยวูลลองกอง
ณ วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
วันพุธ ที่ ๒๗ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๔๕
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระบรมราชสมภพ ณ สหรัฐอเมริกา ในพุทธศักราช ๒๔๗๐ และได้ทรงศึกษา ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งขณะนั้นเป็นที่ตั้งขององค์การสันนิบาต อุดมการณ์แห่งองค์การสันนิบาตดังกล่าวไม่ว่าจะเป็นมิตรภาพระดับนานาชาติ การช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ตลอดจนแนวทางแห่งสันติภาพ ได้ประทับอยู่ในพระราชหฤทัยตลอดมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นที่เคารพยกย่อง ได้ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจตามพระราชปณิธาน ซึ่งสอดคล้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัยวูลลองกองในความพยายามที่จะพัฒนา และเชื่อมโยงมนุษย์กับเทคโนโลยี “เพื่อประโยชน์สุขแห่งภูมิภาค ประเทศชาติ และประชาคมนานาชาติ”
การที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงนำสถาบันพระมหากษัตริย์ให้ใกล้ชิดกับประชาชนทั่วทุกภูมิภาค ถือเป็นความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเป็นพิเศษ ทรงริเริ่มโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริมากมาย ที่จะช่วยสนับสนุนส่งเสริมให้ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ และมีความคิดริเริ่มโครงการในท้องถิ่น ทรงส่งเสริมการใช้วิทยาการด้านเทคโนโลยีที่เหมาะสม และการอนุรักษ์ตลอดจนพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ พระองค์มิเคยทรงย่อท้อต่อพระราชภารกิจที่ทรงกำหนดด้วยพระองค์เอง ทรงสละเวลาและทรงพระวิริยอุตสาหะในกิจการเพื่อประโยชน์สุขแห่งพสกนิกรของพระองค์ อันที่จริงแล้วนับได้ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเปี่ยมด้วยคุณลักษณะแห่งบัณฑิตของมหาวิทยาลัยวูลลองกอง กล่าวคือ ความมีจริยธรรม ความมุ่งมั่นที่จะค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหาให้ดียิ่งขึ้น และการมีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงสังคม รวมไปถึงการยอมรับความเป็นปัจเจกชน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองประเทศชาติด้วยพระปรีชาสามารถ และทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจอันนำมาซึ่งความสงบสุขและความเป็นเอกราช
มหาวิทยาลัยวูลลองกองถือเป็นเกียรติอันสูงส่งที่ได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แห่งมหาวิทยาลัยวูลลองกอง แด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระมหากษัตริย์แห่งประเทศไทย
และศาสตราจารย์เจอราร์ด ซุสตัน อธิการบดีมหาวิทยาลัยวูลลองกอง เครือรัฐออสเตรเลีย และคณะ
เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาททูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แห่งมหาวิทยาลัยวูลลองกอง
ณ ท้องพระโรงศาลาเริง วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
วันพุธ ที่ ๒๗ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๔๕
เพื่อสดุดีพระเกียรติคุณและพระปรีชาสามารถในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆ
หน้าแรกประมวลคำสดุดีพระเกียรติคุณฯ | บัญชีปริญญาดุษฎีบัณฑิตฯ | บัญชีตำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ฯ | บัญชีรางวัลฯ | พระราชกรณียกิจ |