ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปริญญาฯ-มหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซัส"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 9 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
มหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซัส | <div id="king"> | ||
<center><h5>(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)</h5><br>'''คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช<br>ในโอกาสที่มหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซัส สหรัฐอเมริกา'''<br> | |||
'''ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการประพันธ์เพลงและบรรเลงดนตรี<br>ณ วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์<br>วันพุธ ที่ ๑๗ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗'''</center> | |||
</div> | |||
<div id="king2"> | |||
<p>ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม | |||
<div class="kindent">ทั่วโลกต่างเห็นพ้องต้องกันว่าใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาททรงเป็นหนึ่งในบรรดาผู้นำที่ประสบความสำเร็จและโดดเด่น ที่สุดในยุคสมัยของเรา ตลอดพระชนมชีพ ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทได้ทรงแสดงให้เห็นเป็นที่ประจักษ์ว่า นอกเหนือจากพระปรีชาสามารถล้ำเลิศในการทรงเป็นผู้นำและรัฐบุรุษแล้ว ยังทรงมีความผูกพันกับดนตรีอย่างลึกซึ้ง ดังจะเห็นได้จากการที่ทรงมีส่วนร่วมกับการดนตรีโดยตรง คือ ทรงเป็นทั้ง[[พระอัจฉริยภาพทางศิลปะ|นักดนตรีและนักประพันธ์เพลง]]ที่เปี่ยมด้วยพระปรีชาสามารถอันเยี่ยมยอดอีกด้วย | |||
ประชาชนทุกหมู่เหล่าล้วนตระหนักว่า ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทเปี่ยมด้วยประปรีชาสามารถเป็นเลิศ และทรงประสบความสำเร็จด้านต่างๆ นานัปการ พระปรีชาชาญด้านดนตรีเป็นสิ่งหนึ่งซึ่งเป็นที่รู้จักและยอมรับอย่างกว้างขวาง มีผู้เชิญบทเพลงพระราชนิพนธ์หลายเพลงไปบรรเลงทั่วโลก พระปรีชาสามารถในการพระราชนิพนธ์บทเพลงทั้งภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไทย นั้น ยากที่จะหาผู้ใดเสมอเหมือน การที่ทรงเล็งเห็นคุณค่าของดนตรีและทรงมีความเชี่ยวชาญในศิลปะการดนตรี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่สนพระราชหฤทัยในดนตรีแจ๊สและเพลงบลูส์ ยังให้เกิดสายสัมพันธ์อันลึกซึ้งกับโครงการศึกษาวิชาการดนตรีที่มีชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซึสซึ่งเป็นโครงการแรก ในสหรัฐอเมริกาที่มีการประสาทปริญญาสาขาดนตรีแจ๊ส ตัวอย่างของความผูกพันลึกซึ้งที่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทมีต่อดนตรีนั้น เห็นได้จากการที่ทรงเป็นนักดนตรีที่ทรงเครื่องดนตรีได้ทั้งแซกโซโฟน เปียโน คลาริเนต และกีตาร์ อีกทั้งยังเคยทรงดนตรีร่วมกับนักดนตรีที่มีชื่อเสียงก้องโลก เช่น แจ๊ก ทีการ์เดน ไลออนเนล แฮมป์ตัน เบนนี กู๊ดแมน และสแตน เกตซ์ เป็นต้น | |||
พระประชาสามารถด้านดนตรีนี้เป็นที่ยอมรับทั่วโลก ทรงได้รับการสดุดีที่สาธารณรัฐออสเตรียและการประกาศสดุดี พระเกียรติคุณโดยประธานสถาบันการดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนา ในฐานะที่ทรงพระปรีชาสามารถในการผสมผสานดนตรีแนวตะวันออกกับตะวันตก ให้เข้ากันได้อย่างแนบเนียน ยิ่งไปกว่านั้น ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทยังเป็นพระมหากษัตริย์แห่งเอเชียเพียงพระองค์เดียว ที่ทรงได้รับเชิญให้ดำรงตำแหน่ง สมาชิกกิตติมศักดิ์ของสถาบันอันทรงเกียรติดังกล่าว เพลงพระราชนิพนธ์ประกอบการแสดงบัลเล่ต์ชุด “มโนรา” รวมทั้งเพลงพระราชนิพนธ์ “สายฝน” “ยามเย็น” “มาร์ชราชนาวิกโยธิน” และ “มาร์ชราชวัลลภ” ที่บรรเลงโดยวงดนตรี เอ็น. โอ. โทนคีนสเลอร์ ออร์เคสตรา ซึ่งควบคุมโดย ไฮนซ์ ลัวแบร์ก ได้ประสบความสำเร็จสูงยิ่ง และเป็นการแสดงให้เห็นว่าปวงประชาชาวออสเตรียเทิดทูนใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท | |||
การที่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาททรงเป็นผู้นำและรัฐบุรุษระหว่างประเทศที่ประสบความสำเร็จอย่างสูง ได้จารึกไว้ในประวัติศาสตร์ว่าทรงเป็นบุคคลที่โดดเด่นที่สุดแย่งยุคคนหนึ่ง ยิ่งกว่านั้น พระปรีชาสามารถทางด้านดนตรี โดยที่ทรงเป็นทั้งนักดนตรีและนักประพันธ์เพลงด้วยนั้น ได้ก่อให้เกิดสายสัมพันธ์ระหว่างใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทกับเหล่านักดนตรีทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับนักศึกษาสาขาวิชา[[ดนตรี]]แห่งมหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซัสแห่งนี้ | |||
มหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซัสจึงมีความภาคภูมิในอย่างยิ่งที่ได้รับเกียรติสูงสุดให้จารึกพระนามไว้ในรายนามนักดนตรี ผู้มีชื่อเสียงที่ได้รับปริญญาสาขาการดนตรีจากมหาวิทยาลัย | |||
มหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซัสตระหนักว่าใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท มีพระราชหฤทัยผูกพันแนบแน่นกับการดนตรีและทรงปฏิบัติ พระองค์เป็นแบบอย่างที่ดีแก่พสกนิกรทุกคน จึงขอพระราชทานทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการประพันธ์เพลงและบรรเลงดนตรี แด่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท</div> | |||
<br> | |||
<div align="right" style="margin-right: 20%;">ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ</div> | |||
---- | |||
[[ภาพ:มหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซัส.jpg|อธิการบดีมหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซัส สหรัฐอเมริกา<br> ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการประพันธ์เพลงและบรรเลงดนตรี ณ วังไกลกังวล|center]] | |||
<center> นายลี แจ็คสัน อธิการบดีมหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซัส สหรัฐอเมริกา<br> ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการประพันธ์เพลงและบรรเลงดนตรี<br>ณ พระตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์<br>วันพุธ ที่ ๑๗ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗</center> | |||
[[ภาพ:มหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซัส2.jpg|ปริญญาบัตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการประพันธ์เพลงและบรรเลงดนตรี|center]] | |||
<center>ปริญญาบัตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการประพันธ์เพลงและบรรเลงดนตรี<br> ที่มหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซัสทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย | |||
</center> | |||
---- | ---- | ||
บรรทัดที่ 5: | บรรทัดที่ 43: | ||
[[หมวดหมู่:ปริญญาฯ]] | [[หมวดหมู่:ปริญญาฯ]] | ||
[[Category: ศิลปวัฒนธรรม]] | |||
[[Category: |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:21, 18 พฤศจิกายน 2551
(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)
คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ในโอกาสที่มหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซัส สหรัฐอเมริกา
ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการประพันธ์เพลงและบรรเลงดนตรี
ณ วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
วันพุธ ที่ ๑๗ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗
ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม
ประชาชนทุกหมู่เหล่าล้วนตระหนักว่า ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทเปี่ยมด้วยประปรีชาสามารถเป็นเลิศ และทรงประสบความสำเร็จด้านต่างๆ นานัปการ พระปรีชาชาญด้านดนตรีเป็นสิ่งหนึ่งซึ่งเป็นที่รู้จักและยอมรับอย่างกว้างขวาง มีผู้เชิญบทเพลงพระราชนิพนธ์หลายเพลงไปบรรเลงทั่วโลก พระปรีชาสามารถในการพระราชนิพนธ์บทเพลงทั้งภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาไทย นั้น ยากที่จะหาผู้ใดเสมอเหมือน การที่ทรงเล็งเห็นคุณค่าของดนตรีและทรงมีความเชี่ยวชาญในศิลปะการดนตรี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่สนพระราชหฤทัยในดนตรีแจ๊สและเพลงบลูส์ ยังให้เกิดสายสัมพันธ์อันลึกซึ้งกับโครงการศึกษาวิชาการดนตรีที่มีชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซึสซึ่งเป็นโครงการแรก ในสหรัฐอเมริกาที่มีการประสาทปริญญาสาขาดนตรีแจ๊ส ตัวอย่างของความผูกพันลึกซึ้งที่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทมีต่อดนตรีนั้น เห็นได้จากการที่ทรงเป็นนักดนตรีที่ทรงเครื่องดนตรีได้ทั้งแซกโซโฟน เปียโน คลาริเนต และกีตาร์ อีกทั้งยังเคยทรงดนตรีร่วมกับนักดนตรีที่มีชื่อเสียงก้องโลก เช่น แจ๊ก ทีการ์เดน ไลออนเนล แฮมป์ตัน เบนนี กู๊ดแมน และสแตน เกตซ์ เป็นต้น
พระประชาสามารถด้านดนตรีนี้เป็นที่ยอมรับทั่วโลก ทรงได้รับการสดุดีที่สาธารณรัฐออสเตรียและการประกาศสดุดี พระเกียรติคุณโดยประธานสถาบันการดนตรีและศิลปะแห่งกรุงเวียนนา ในฐานะที่ทรงพระปรีชาสามารถในการผสมผสานดนตรีแนวตะวันออกกับตะวันตก ให้เข้ากันได้อย่างแนบเนียน ยิ่งไปกว่านั้น ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทยังเป็นพระมหากษัตริย์แห่งเอเชียเพียงพระองค์เดียว ที่ทรงได้รับเชิญให้ดำรงตำแหน่ง สมาชิกกิตติมศักดิ์ของสถาบันอันทรงเกียรติดังกล่าว เพลงพระราชนิพนธ์ประกอบการแสดงบัลเล่ต์ชุด “มโนรา” รวมทั้งเพลงพระราชนิพนธ์ “สายฝน” “ยามเย็น” “มาร์ชราชนาวิกโยธิน” และ “มาร์ชราชวัลลภ” ที่บรรเลงโดยวงดนตรี เอ็น. โอ. โทนคีนสเลอร์ ออร์เคสตรา ซึ่งควบคุมโดย ไฮนซ์ ลัวแบร์ก ได้ประสบความสำเร็จสูงยิ่ง และเป็นการแสดงให้เห็นว่าปวงประชาชาวออสเตรียเทิดทูนใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท
การที่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาททรงเป็นผู้นำและรัฐบุรุษระหว่างประเทศที่ประสบความสำเร็จอย่างสูง ได้จารึกไว้ในประวัติศาสตร์ว่าทรงเป็นบุคคลที่โดดเด่นที่สุดแย่งยุคคนหนึ่ง ยิ่งกว่านั้น พระปรีชาสามารถทางด้านดนตรี โดยที่ทรงเป็นทั้งนักดนตรีและนักประพันธ์เพลงด้วยนั้น ได้ก่อให้เกิดสายสัมพันธ์ระหว่างใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทกับเหล่านักดนตรีทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับนักศึกษาสาขาวิชาดนตรีแห่งมหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซัสแห่งนี้
มหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซัสจึงมีความภาคภูมิในอย่างยิ่งที่ได้รับเกียรติสูงสุดให้จารึกพระนามไว้ในรายนามนักดนตรี ผู้มีชื่อเสียงที่ได้รับปริญญาสาขาการดนตรีจากมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซัสตระหนักว่าใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท มีพระราชหฤทัยผูกพันแนบแน่นกับการดนตรีและทรงปฏิบัติ พระองค์เป็นแบบอย่างที่ดีแก่พสกนิกรทุกคน จึงขอพระราชทานทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการประพันธ์เพลงและบรรเลงดนตรี แด่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท
ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการประพันธ์เพลงและบรรเลงดนตรี
ณ พระตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
วันพุธ ที่ ๑๗ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗
ที่มหาวิทยาลัยนอร์ทเทกซัสทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย
หน้าแรกประมวลคำสดุดีพระเกียรติคุณฯ | บัญชีปริญญาดุษฎีบัณฑิตฯ | บัญชีตำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ฯ | บัญชีรางวัลฯ | พระราชกรณียกิจ |