ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พลังงานทดแทน"

จาก WIKI84
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 33 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''พลังงานทดแทน'''
<div id="bg_g1t">&nbsp;</div>
<div id="bg_g1">
__NOTOC__


<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสนพระราชหฤทัยเกี่ยวกับพลังงานทดแทนอย่างต่อเนื่อง ด้วยในภาคการเกษตรมีการใช้พลังงานเพื่อดำเนินกิจกรรมต่างๆ อาทิ เครื่องไถนา เครื่องสูบน้ำ เครื่องกลเรือ ดังนั้นพระองค์ได้ทรงคิดค้นพลังงานด้านอื่นๆ นอกจากน้ำมันเพื่อช่วยให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตและสามารถผลิตพลังงานขึ้นมาใช้เองได้</div>
<center><h1>พลังงานทดแทน</h1></center>


<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาเป็นสถานที่ริเริ่มโครงการผลิตพลังงานทดแทน ได้แก่ โครงการผลิตเชื่อเพลิงอัดแท่ง(แกลบอัดแท่ง) โครงการผลิตแก๊สโซฮอล์และโครงการบ้านพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อทดแทนพลังงานจากน้ำมันและเชื้อเพลิงอื่นๆ</div>
<div class="kindent"><span class="kgreen">พลังงานทดแทน หมายถึง พลังงานที่ผลิตขึ้นใช้แทนพลังงานเชื้อเพลิง แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ พลังงานทดแทนที่ใช้แล้วหมดไปหรือพลังงานสิ้นเปลือง เช่น พลังงานถ่านหิน พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานหินน้ำมัน พลังานทายน้ำมัน ฯลฯ และพลังงานทดแทนที่ไม่มีวันหมดหรือนำมาหมุนเวียนใช้ใหม่ได้ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้ำ พลังงานชีวมวลซึ่งได้จากอินทรีวัตถุในธรรมชาติที่นำมาเปลี่ยนเป็นพลังงานได้ เช่น แกลบ ชานอ้อย เปลือกไม้ กากปาล์ม ซังข้าวโพด ฯลฯ
</span></div>


<div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสนพระราชหฤทัยเกี่ยวกับพลังงานทดแทนอย่างต่อเนื่อง ด้วยในภาคการเกษตรมีการใช้พลังงานเพื่อดำเนินกิจกรรมต่างๆ อาทิ เครื่องไถนา เครื่องสูบน้ำ เครื่องกลเรือ ดังนั้นพระองค์ได้ทรงคิดค้นพลังงานด้านอื่นๆ นอกจากน้ำมันเพื่อช่วยให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตและสามารถผลิตพลังงานขึ้นมาใช้เองได้ อีกทั้งยังมีพระราชดำริว่าในอนาคตพลังงานจะขาดแคลน ทั้งพลังงานจากธรรมชาติและผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิง [[โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา]]เป็นสถานที่ริเริ่มโครงการผลิตพลังงานทดแทน หลายโครงการ เช่น</div>


'''โครงการผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่ง (แกลบอัดแท่ง)'''
<div style="display:inline-table; width:100%">
<div style="float:left">
<div style="text-indent: 30px; padding-top:10px">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริมาตั้งแต่ปี ๒๕๑๘ ว่าควรมีการนำแกลบมาใช้งานให้เป็นประโยชน์<br />ทั้งด้านการทำเป็นปุ๋ยสำหรับปรับปรุงสภาพดิน และทำเป็นเชื้อเพลิงซึ่งจะช่วยอนุรักษ์ป่าไม้ได้อีกทางหนึ่ง ซึ่งโดยปกตินั้น<br />หลังการสีข้าวจะได้แกลบซึ่งนิยมใช้เป็นอาหารสัตว์ และทำเป็นปุ๋ยหรือเชื้อเพลิงได้ตามความต้องการ การใช้แกลบเป็นเชื้อเพลิงนั้น<br />จะพบว่ามีประสิทธิภาพสูง ทั้งนี้ได้มีการทดลองนำแกลบมาอัดให้เป็นแท่งและแปรสภาพเป็นเชื้อเพลิงแท่ง เมื่อปี ๒๕๒๓ โดยได้รับความร่วมมือ<br />ในการวิจัยและค้นคว้าจากสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ในการนำแกลบที่ได้จากโรงสีข้าวตัวอย่าง<br />ในสวนจิตรลดามาทดลองใช้งาน</div>
<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">แกลบที่นำมาถูกเลือกใช้เฉพาะส่วนที่มีความชื้นไม่เกินร้อยละ ๑๐ ขั้นตอนการผลิตเริ่มจากการขับแกลบให้ไหลผ่านสกรู <br />แล้วจะมีเครื่องทำหน้าที่บดแกลบให้ละเอียดและทำให้แน่นผ่านกระบอก โดยกระบอกจะถูกเผาด้วยเศษแกลบอัดแท่งที่ความร้อน<br />ประมาณ ๒๕๐-๒๗๐ องศาเซลเซียส และเนื่องจากวัสดุแกลบประกอบด้วยสารเซลลูโลส ลิกนิน และคาร์โบไฮเดรด <br />ดังนั้นเมื่อสารเซลลูโลสถูกความร้อนจากกระบอกสารเซลลูโลสจะหลอมละลายและเคลือบด้านนอกแท่งแกลบให้แข็ง <br />ทำให้แกลบเกาะกันเป็นแท่ง</div>
</div><div style="float:left; padding-left:10px">[[ภาพ:แกลบอัดแท่ง.jpg]]</div></div>


===โครงการผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่ง (แกลบอัดแท่ง)===


[[ภาพ:แกลบอัดแท่ง.jpg|right|แกลบอัดแท่ง]]<div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริมาตั้งแต่ปี ๒๕๑๘ ว่าควรมีการนำแกลบมาใช้งานให้เป็นประโยชน์ทั้งด้านการทำเป็นปุ๋ยสำหรับปรับปรุงสภาพดิน และทำเป็นเชื้อเพลิงซึ่งจะช่วยอนุรักษ์ป่าไม้ได้อีกทางหนึ่ง ซึ่งโดยปกตินั้นหลังการสีข้าวจะได้แกลบซึ่งนิยมใช้เป็นอาหารสัตว์และทำเป็นปุ๋ยหรือเชื้อเพลิงได้ตามความต้องการ การใช้แกลบเป็นเชื้อเพลิงนั้นจะพบว่ามีประสิทธิภาพสูง ทั้งนี้ได้มีการทดลองนำแกลบมาอัดให้เป็นแท่งและแปรสภาพเป็นเชื้อเพลิงแท่ง เมื่อปี ๒๕๒๓ โดยได้รับความร่วมมือในการวิจัยและค้นคว้าจากสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ในการนำแกลบที่ได้จากโรงสีข้าวตัวอย่างในสวนจิตรลดามาทดลองใช้งาน


แกลบที่นำมาถูกเลือกใช้เฉพาะส่วนที่มีความชื้นไม่เกินร้อยละ ๑๐ ขั้นตอนการผลิตเริ่มจากการขับแกลบให้ไหลผ่านสกรู แล้วจะมีเครื่องทำหน้าที่บดแกลบให้ละเอียดและทำให้แน่นผ่านกระบอก โดยกระบอกจะถูกเผาด้วยเศษแกลบอัดแท่งที่ความร้อนประมาณ ๒๕๐-๒๗๐ องศาเซลเซียส และเนื่องจากวัสดุแกลบประกอบด้วยสารเซลลูโลส ลิกนิน และคาร์โบไฮเดรด ดังนั้นเมื่อสารเซลลูโลสถูกความร้อนจากกระบอกสารเซลลูโลสจะหลอมละลาย และเคลือบด้านนอกแท่งแกลบให้แข็ง ทำให้แกลบเกาะกันเป็นแท่ง</div>


'''โครงการเกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์'''
<div style="text-indent: 30px; padding-top:10px">น้ำมันแก๊สโซฮอล์ หมายถึง น้ำมันเชื้อเพลิงที่ได้จากการผสมแอลกอฮอล์เข้ากับน้ำมันเบนซิน งานทดลองผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงเริ่มขึ้นเมื่อปี ๒๕๒๘ จากพระราชดำรัสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานไว้ในคราวที่เสด็จพระราชดำเนินไปทรงตรวจเยี่ยมโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาโดยให้ทำการศึกษาต้นทุนการผลิตแอลกอฮอล์ (เอทิลแอลกอฮอล์หรือเอทานอลจากอ้อย เพื่อรองรับสถานการณ์ในอนาคตที่อาจจะเกิดภาวะน้ำมันขาดแคลนหรือราคาอ้อยตกต่ำ</div>


<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">ทั้งนี้การผลิตแอลกอฮอล์จากอ้อยตามพระราชดำริเริ่มดำเนินการในอาคารโครงการค้นคว้าน้ำมันเชื้อเพลิงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดเมื่อวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙ โดยสามารถผลิตเอทิลแอลกอฮอล์ความบริสุทธิ์ ๙๑% ได้ในอัตรา ๒.๘ ลิตรต่อชั่วโมง ต้นทุนการผลิต ๕๖.๒ บาทต่อลิตร ขณะที่เอทิลแอลกอฮอล์ความบริสุทธิ์ ๙๕% ซึ่งผลิตจากกากน้ำตาลของกรมสรรพสามิตจำหน่ายในราคาประมาณ ๒๔ บาทต่อลิตร</div>
===โครงการเกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์===
<div class="kindent">น้ำมัน[[แก๊สโซฮอล์]] หมายถึง น้ำมันเชื้อเพลิงที่ได้จากการผสมแอลกอฮอล์เข้ากับน้ำมันเบนซิน งานทดลองผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงเริ่มขึ้นเมื่อปี ๒๕๒๘ จากพระราชดำรัสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานไว้ในคราวที่เสด็จพระราชดำเนินไปทรงตรวจเยี่ยมโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา โดยให้ทำการศึกษาต้นทุนการผลิตแอลกอฮอล์ (เอทิลแอลกอฮอล์หรือเอทานอลจากอ้อย เพื่อรองรับสถานการณ์ในอนาคตที่อาจจะเกิดภาวะน้ำมันขาดแคลนหรือราคาอ้อยตกต่ำ


<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๓๘ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดโรงงานผลิตเอทานอลเป็นเชื้อเพลิงที่บริษัทสุราทิพย์ จำกัด น้อมเกล้าฯ ถวายและดำเนินกลั่นตลอดมาจนถึงปัจจุบันกำลังผลิตหอกลั่น ๒๕ ลิตรต่อชั่วโมง จากนั้นเมื่อวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๙ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยได้น้อมเกล้าฯ ถวายสถานีบริการแก๊สโซฮอล์เพื่อให้ความสะดวกกับรถยนต์ที่ใช้แก๊สโซฮอล์ในโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา จนถึงวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๔๐ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยและสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยได้ร่วมกับโครงการส่วนพระองค์ฯ ดำเนินการปรับปรุงคุณภาพของแอลกอฮอล์ที่ใช้เติมรถยนต์ โดยให้โครงการฯ ส่งแอลกอฮอล์ ๙๕% ไปกลั่นซ้ำเป็นแอลกอฮอล์ ๙๙% ที่สถาบันวิจัยฯ แล้วนำกลับมาผสมกับเบนซินธรรมดาเป็นแก๊สโซฮอล์เติมให้กับรถยนต์ของโครงการฯ ที่ใช้เบนซินเป็นเชื้อเพลิง โดยสามารถเติมแก๊สโซฮอล์ได้จากสถานีบริการของการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย ที่ตั้งอยู่บริเวณโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา</div>
ทั้งนี้การผลิตแอลกอฮอล์จากอ้อยตามพระราชดำริเริ่มดำเนินการในอาคารโครงการค้นคว้าน้ำมันเชื้อเพลิงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดเมื่อวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙ โดยสามารถผลิตเอทิลแอลกอฮอล์ความบริสุทธิ์ ๙๑% ได้ในอัตรา ๒.๘ ลิตรต่อชั่วโมง ต้นทุนการผลิต ๕๖.๒ บาทต่อลิตร ขณะที่เอทิลแอลกอฮอล์ความบริสุทธิ์ ๙๕% ซึ่งผลิตจากกากน้ำตาลของกรมสรรพสามิตจำหน่ายในราคาประมาณ ๒๔ บาทต่อลิตร


<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">ปัจจุบันโครงการแก๊สโซฮอล์ใช้แอลกอฮอล์ ๙๙% ผสมกับเบนซินธรรมดาในอัตราส่วน ๑:๙ และเติม corrosion inhibitor (สารเคมีประเภทอะมีนและกรดอินทรีย์ ๑๕ มิลลิกรัมต่อแก๊สโซฮอล์ ๑ ลิตร)</div>
เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๓๘ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดโรงงานผลิตเอทานอลเป็นเชื้อเพลิงที่บริษัทสุราทิพย์ จำกัด น้อมเกล้าฯ ถวายและดำเนินกลั่นตลอดมาจนถึงปัจจุบันกำลังผลิตหอกลั่น ๒๕ ลิตรต่อชั่วโมง จากนั้นเมื่อวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๙ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยได้น้อมเกล้าฯ ถวายสถานีบริการแก๊สโซฮอล์เพื่อให้ความสะดวกกับรถยนต์ที่ใช้แก๊สโซฮอล์ในโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา จนถึงวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๔๐ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยและสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยได้ร่วมกับโครงการส่วนพระองค์ฯ ดำเนินการปรับปรุงคุณภาพของแอลกอฮอล์ที่ใช้เติมรถยนต์ โดยให้โครงการฯ ส่งแอลกอฮอล์ ๙๕% ไปกลั่นซ้ำเป็นแอลกอฮอล์ ๙๙% ที่สถาบันวิจัยฯ แล้วนำกลับมาผสมกับเบนซินธรรมดาเป็นแก๊สโซฮอล์เติมให้กับรถยนต์ของโครงการฯ ที่ใช้เบนซินเป็นเชื้อเพลิง โดยสามารถเติมแก๊สโซฮอล์ได้จากสถานีบริการของการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย ที่ตั้งอยู่บริเวณโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา


<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">นอกจากนั้นในปี ๒๕๔๑ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย ได้ร่วมกับโครงการส่วนพระองค์ฯ ดำเนินโครงการดีโซฮอล์ซึ่งนำไปใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลด้วย</div>
ปัจจุบันโครงการแก๊สโซฮอล์ใช้แอลกอฮอล์ ๙๙% ผสมกับเบนซินธรรมดาในอัตราส่วน ๑:๙ และเติม corrosion inhibitor (สารเคมีประเภทอะมีนและกรดอินทรีย์ ๑๕ มิลลิกรัมต่อแก๊สโซฮอล์ ๑ ลิตร)


<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">การนำอ้อยมาแปรรูปเป็นเอทานอลเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทนนับเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยแก้ปัญหาในภาวะน้ำมันขาดแคลนที่อาจจะเกิดขึ้น ในการนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานเงินทุนวิจัยในขั้นต้น เพื่อใช้ในการดำเนินงานในการจัดสร้างอาคารและอุปกรณ์ต่างๆ จำนวน ๙๒๕,๕๐๐ บาท ซึ่งต่อมาได้มีการพัฒนาเพื่อหาวิธีการที่จะนำพลังงานดังกล่าวไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป</div>
นอกจากนั้นในปี ๒๕๔๑ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย ได้ร่วมกับโครงการส่วนพระองค์ฯ ดำเนินโครงการดีโซฮอล์ซึ่งนำไปใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลด้วย


การนำอ้อยมาแปรรูปเป็นเอทานอลเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทนนับเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยแก้ปัญหาในภาวะน้ำมันขาดแคลนที่อาจจะเกิดขึ้น ในการนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานเงินทุนวิจัยในขั้นต้น เพื่อใช้ในการดำเนินงานในการจัดสร้างอาคารและอุปกรณ์ต่างๆ จำนวน ๙๒๕,๕๐๐ บาท ซึ่งต่อมาได้มีการพัฒนาเพื่อหาวิธีการที่จะนำพลังงานดังกล่าวไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป</div>


'''โครงการเกี่ยวกับน้ำมันดีโซฮอล์'''
<div style="text-indent: 30px; padding-top:10px">โครงการดีโซฮอล์ที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ได้เริ่มขึ้นเมื่อปี ๒๕๔๑ โดยการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยร่วมกับโครงการส่วนพระองค์ฯ ทดลองผสมเอทานอลที่มีความบริสุทธิ์ร้อยละ ๙๕ กับน้ำมันดีเซลและสารอีมัลซิไฟเออร์ (เป็นสารที่มีคุณสมบัติทำให้แอลกอฮอล์กับน้ำมันดีเซลผสมเข้ากันได้โดยไม่แยกชั้น ประกอบด้วยสาร PEOPS และ SB ๔๐๓) ในอัตราส่วน ๑๔.๘๕ : ๑ ดีโซฮอล์ที่ได้สามารถนำไปใช้เป็นน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซล เช่น รถกระบะ และรถเทรลเลอร์ของโครงการส่วนพระองค์ เป็นต้น ผลการทดลองพบว่าสามารถ ใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ดีพอสมควร ทั้งยังลดควันดำได้ปริมาณร้อยละ ๕๐</div>


===โครงการเกี่ยวกับน้ำมันดีโซฮอล์===
<div class="kindent">โครงการดีโซฮอล์ที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ได้เริ่มขึ้นเมื่อปี ๒๕๔๑ โดยการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยร่วมกับโครงการส่วนพระองค์ฯ ทดลองผสมเอทานอลที่มีความบริสุทธิ์ร้อยละ ๙๕ กับน้ำมันดีเซลและสารอีมัลซิไฟเออร์ (เป็นสารที่มีคุณสมบัติทำให้แอลกอฮอล์กับน้ำมันดีเซลผสมเข้ากันได้โดยไม่แยกชั้น ประกอบด้วยสาร PEOPS และ SB ๔๐๓) ในอัตราส่วน ๑๔.๘๕ : ๑ [[ดีโซฮอล์]]ที่ได้สามารถนำไปใช้เป็นน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซล เช่น รถกระบะ และรถเทรลเลอร์ของโครงการส่วนพระองค์ เป็นต้น ผลการทดลองพบว่าสามารถ ใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ดีพอสมควร ทั้งยังลดควันดำได้ปริมาณร้อยละ ๕๐</div>


'''โครงการเกี่ยวกับน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์'''
<div style="text-indent: 30px; padding-top:10px">โครงการพัฒนาพลังงานทดแทน เพื่อศึกษาหาแนวทางในการนำน้ำมันพืช โดยเฉพาะน้ำมันปาล์มมาใช้แทนน้ำมันดีเซล สำหรับเครื่อยนต์ดีเซลเริ่มขึ้นเมื่อปี ๒๕๒๘ โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดำริให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์สร้างโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มขนาดเล็กขึ้นที่สหกรณ์นิคมอ่าวลึก จังหวัดกระบี่และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ขนาดเล็กกำลังผลิตวันละ ๑๐๐ ลิตร ขึ้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดนราธิวาส</div>


<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">ต่อมา เมื่อปี ๒๕๔๓ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชกระแสรับสั่งให้กองงานส่วนพระองค์ดำเนินการวิจัยและพัฒนาเพื่อให้พร้อมในการดำเนินการทดลองน้ำมันปาล์มมาใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลในช่วงเวลาที่มีผลผลิตปาล์มมากเกินความต้องการของตลาด ราคาน้ำมันปาล์มดิบมีราคาตกต่ำ เป็นผลให้เกษตรกรเดือดร้อน</div>
*[[พลังงานทดแทน-น้ำมันปาล์ม|โครงการเกี่ยวกับน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์]]
*[[พลังงานทดแทน-สรุปการทดสอบ|สรุปการทดสอบพลังงานทดแทน]]


<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">น้ำมันปาล์มกลั่นบริสุทธิ์ (BBD palm olein) เป็นน้ำมันที่สกัดจากผลปาล์มตามกรรมวิธีสะอาด ใช้ปรุงอาหารรับประทานได้ด้วยคุณสมบัติพิเศษนี้จึงนำมาใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลที่มี ระบบส่งน้ำมันเชื้อเพลิง และระบบฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงที่มีปั๊ม และหัวฉีดน้ำมันเชื้อเพิลงที่ผลิตมาด้วยงานละเอียดจากผลการทดลองพบว่า ไม่มีผลกระทบใดๆ ในทางลบกับเครื่องยนต์ดีเซล และน้ำมันปาล์มกลั่นบริสุทธิ์ร้อยละ ๑๐๐ โดยปริมาตรสามารถใช้เป็นน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องยนต์ดีเซลโดยไม่ต้องผสมกับน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดอื่น หรืออาจใช้ผสมกับน้ำมันดีเซลในสัดส่วนน้ำมันปาล์มต่อน้ำมันดีเซลน้อย ตั้งแต่ร้อยละ ๐.๐๑ ไปจนถึง ๙๙.๘๘ ได้เช่นกัน</div>
----
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.2}}


<div style="text-indent: 30px; padding-top:15px">การทดลองใช้น้ำมันปาล์มกลั่นบริสุทธิ์มาเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องยนต์ดีเซล จึงเริ่มดำเนินการตามพระราชดำริตั้งแต่เดือนกันยายน ๒๕๔๓ โดยเริ่มทดลองใช้กับรถยนต์เครื่องยนต์ดีเซลของกองงานส่วนพระองค์ วังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์</div>


{{ดูเพิ่มเติม|[[แก๊สชีวภาพ]] / [[แก๊สโซฮอล์]] / [[ดีโซฮอล์]] / [[เอทานอล]] / [[โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา]] / [[สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย]] / [[ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง]]}}
</div>




----
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]]
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.2}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:53, 1 ตุลาคม 2552

 


พลังงานทดแทน

พลังงานทดแทน หมายถึง พลังงานที่ผลิตขึ้นใช้แทนพลังงานเชื้อเพลิง แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ พลังงานทดแทนที่ใช้แล้วหมดไปหรือพลังงานสิ้นเปลือง เช่น พลังงานถ่านหิน พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานหินน้ำมัน พลังานทายน้ำมัน ฯลฯ และพลังงานทดแทนที่ไม่มีวันหมดหรือนำมาหมุนเวียนใช้ใหม่ได้ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้ำ พลังงานชีวมวลซึ่งได้จากอินทรีวัตถุในธรรมชาติที่นำมาเปลี่ยนเป็นพลังงานได้ เช่น แกลบ ชานอ้อย เปลือกไม้ กากปาล์ม ซังข้าวโพด ฯลฯ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสนพระราชหฤทัยเกี่ยวกับพลังงานทดแทนอย่างต่อเนื่อง ด้วยในภาคการเกษตรมีการใช้พลังงานเพื่อดำเนินกิจกรรมต่างๆ อาทิ เครื่องไถนา เครื่องสูบน้ำ เครื่องกลเรือ ดังนั้นพระองค์ได้ทรงคิดค้นพลังงานด้านอื่นๆ นอกจากน้ำมันเพื่อช่วยให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตและสามารถผลิตพลังงานขึ้นมาใช้เองได้ อีกทั้งยังมีพระราชดำริว่าในอนาคตพลังงานจะขาดแคลน ทั้งพลังงานจากธรรมชาติและผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิง โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาเป็นสถานที่ริเริ่มโครงการผลิตพลังงานทดแทน หลายโครงการ เช่น


โครงการผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่ง (แกลบอัดแท่ง)

แกลบอัดแท่ง
แกลบอัดแท่ง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริมาตั้งแต่ปี ๒๕๑๘ ว่าควรมีการนำแกลบมาใช้งานให้เป็นประโยชน์ทั้งด้านการทำเป็นปุ๋ยสำหรับปรับปรุงสภาพดิน และทำเป็นเชื้อเพลิงซึ่งจะช่วยอนุรักษ์ป่าไม้ได้อีกทางหนึ่ง ซึ่งโดยปกตินั้นหลังการสีข้าวจะได้แกลบซึ่งนิยมใช้เป็นอาหารสัตว์และทำเป็นปุ๋ยหรือเชื้อเพลิงได้ตามความต้องการ การใช้แกลบเป็นเชื้อเพลิงนั้นจะพบว่ามีประสิทธิภาพสูง ทั้งนี้ได้มีการทดลองนำแกลบมาอัดให้เป็นแท่งและแปรสภาพเป็นเชื้อเพลิงแท่ง เมื่อปี ๒๕๒๓ โดยได้รับความร่วมมือในการวิจัยและค้นคว้าจากสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ในการนำแกลบที่ได้จากโรงสีข้าวตัวอย่างในสวนจิตรลดามาทดลองใช้งาน แกลบที่นำมาถูกเลือกใช้เฉพาะส่วนที่มีความชื้นไม่เกินร้อยละ ๑๐ ขั้นตอนการผลิตเริ่มจากการขับแกลบให้ไหลผ่านสกรู แล้วจะมีเครื่องทำหน้าที่บดแกลบให้ละเอียดและทำให้แน่นผ่านกระบอก โดยกระบอกจะถูกเผาด้วยเศษแกลบอัดแท่งที่ความร้อนประมาณ ๒๕๐-๒๗๐ องศาเซลเซียส และเนื่องจากวัสดุแกลบประกอบด้วยสารเซลลูโลส ลิกนิน และคาร์โบไฮเดรด ดังนั้นเมื่อสารเซลลูโลสถูกความร้อนจากกระบอกสารเซลลูโลสจะหลอมละลาย และเคลือบด้านนอกแท่งแกลบให้แข็ง ทำให้แกลบเกาะกันเป็นแท่ง


โครงการเกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์

น้ำมันแก๊สโซฮอล์ หมายถึง น้ำมันเชื้อเพลิงที่ได้จากการผสมแอลกอฮอล์เข้ากับน้ำมันเบนซิน งานทดลองผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิงเริ่มขึ้นเมื่อปี ๒๕๒๘ จากพระราชดำรัสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานไว้ในคราวที่เสด็จพระราชดำเนินไปทรงตรวจเยี่ยมโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา โดยให้ทำการศึกษาต้นทุนการผลิตแอลกอฮอล์ (เอทิลแอลกอฮอล์หรือเอทานอลจากอ้อย เพื่อรองรับสถานการณ์ในอนาคตที่อาจจะเกิดภาวะน้ำมันขาดแคลนหรือราคาอ้อยตกต่ำ

ทั้งนี้การผลิตแอลกอฮอล์จากอ้อยตามพระราชดำริเริ่มดำเนินการในอาคารโครงการค้นคว้าน้ำมันเชื้อเพลิงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดเมื่อวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙ โดยสามารถผลิตเอทิลแอลกอฮอล์ความบริสุทธิ์ ๙๑% ได้ในอัตรา ๒.๘ ลิตรต่อชั่วโมง ต้นทุนการผลิต ๕๖.๒ บาทต่อลิตร ขณะที่เอทิลแอลกอฮอล์ความบริสุทธิ์ ๙๕% ซึ่งผลิตจากกากน้ำตาลของกรมสรรพสามิตจำหน่ายในราคาประมาณ ๒๔ บาทต่อลิตร

เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๓๘ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดโรงงานผลิตเอทานอลเป็นเชื้อเพลิงที่บริษัทสุราทิพย์ จำกัด น้อมเกล้าฯ ถวายและดำเนินกลั่นตลอดมาจนถึงปัจจุบันกำลังผลิตหอกลั่น ๒๕ ลิตรต่อชั่วโมง จากนั้นเมื่อวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๙ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยได้น้อมเกล้าฯ ถวายสถานีบริการแก๊สโซฮอล์เพื่อให้ความสะดวกกับรถยนต์ที่ใช้แก๊สโซฮอล์ในโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา จนถึงวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๔๐ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยและสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยได้ร่วมกับโครงการส่วนพระองค์ฯ ดำเนินการปรับปรุงคุณภาพของแอลกอฮอล์ที่ใช้เติมรถยนต์ โดยให้โครงการฯ ส่งแอลกอฮอล์ ๙๕% ไปกลั่นซ้ำเป็นแอลกอฮอล์ ๙๙% ที่สถาบันวิจัยฯ แล้วนำกลับมาผสมกับเบนซินธรรมดาเป็นแก๊สโซฮอล์เติมให้กับรถยนต์ของโครงการฯ ที่ใช้เบนซินเป็นเชื้อเพลิง โดยสามารถเติมแก๊สโซฮอล์ได้จากสถานีบริการของการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย ที่ตั้งอยู่บริเวณโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา

ปัจจุบันโครงการแก๊สโซฮอล์ใช้แอลกอฮอล์ ๙๙% ผสมกับเบนซินธรรมดาในอัตราส่วน ๑:๙ และเติม corrosion inhibitor (สารเคมีประเภทอะมีนและกรดอินทรีย์ ๑๕ มิลลิกรัมต่อแก๊สโซฮอล์ ๑ ลิตร)

นอกจากนั้นในปี ๒๕๔๑ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย ได้ร่วมกับโครงการส่วนพระองค์ฯ ดำเนินโครงการดีโซฮอล์ซึ่งนำไปใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลด้วย

การนำอ้อยมาแปรรูปเป็นเอทานอลเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทนนับเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยแก้ปัญหาในภาวะน้ำมันขาดแคลนที่อาจจะเกิดขึ้น ในการนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานเงินทุนวิจัยในขั้นต้น เพื่อใช้ในการดำเนินงานในการจัดสร้างอาคารและอุปกรณ์ต่างๆ จำนวน ๙๒๕,๕๐๐ บาท ซึ่งต่อมาได้มีการพัฒนาเพื่อหาวิธีการที่จะนำพลังงานดังกล่าวไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป


โครงการเกี่ยวกับน้ำมันดีโซฮอล์

โครงการดีโซฮอล์ที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ได้เริ่มขึ้นเมื่อปี ๒๕๔๑ โดยการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยร่วมกับโครงการส่วนพระองค์ฯ ทดลองผสมเอทานอลที่มีความบริสุทธิ์ร้อยละ ๙๕ กับน้ำมันดีเซลและสารอีมัลซิไฟเออร์ (เป็นสารที่มีคุณสมบัติทำให้แอลกอฮอล์กับน้ำมันดีเซลผสมเข้ากันได้โดยไม่แยกชั้น ประกอบด้วยสาร PEOPS และ SB ๔๐๓) ในอัตราส่วน ๑๔.๘๕ : ๑ ดีโซฮอล์ที่ได้สามารถนำไปใช้เป็นน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซล เช่น รถกระบะ และรถเทรลเลอร์ของโครงการส่วนพระองค์ เป็นต้น ผลการทดลองพบว่าสามารถ ใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ดีพอสมควร ทั้งยังลดควันดำได้ปริมาณร้อยละ ๕๐



ข้อมูลจาก หนังสือ ๘๐ พรรษา ปวงประชาสุขศานต์ จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ