ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รางวัลฯ-องค์การลูกเสือโลก"
จาก WIKI84
(New page: รางวัลฯ-องค์การลูกเสือโลก ---- {{แม่แบบ:เมนูประมวลคำสดุดี}} [[หมวดหมู่:ร...) |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 10 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
<div id="king"> | |||
<center><h5>(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)</h5>'''คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช<br>ในโอกาสที่องค์การลูกเสือโลก สมาพันธรัฐสวิส'''<br> | |||
'''ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายอิสริยาภรณ์สดุดีลูกเสือโลก<br>ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต<br>วันอังคาร ที่ ๒๐ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๔๙'''</center> | |||
</div> | |||
<div id="king2"> | |||
<div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในฐานะพระประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติของไทย ทรงเป็นผู้นำที่เป็นแรงบันดาลใจให้แก่ ลูกเสือผู้มีบทบาทเกี่ยวข้องกับกิจกรรม ที่สนับสนุนการพัฒนาระดับประเทศ ด้วยพระปรีชาสามารถในกิจการระหว่างประเทศ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนับสนุนสำนักงานคณะกรรมการลูกเสือแห่งชาติของไทย ให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมโดยผ่านทางการให้การศึกษาแก่เหล่าลูกเสือ ไม่เฉพาะในระดับท้องถิ่น และระดับชาติเท่านั้น แต่ยังรวมถึงในระดับนานาประเทศด้วย | |||
ด้วย[[พระราชกรณียกิจ]]ที่ปรากฎโดดเด่นนั้น สำนักงานคณะกรรมการลูกเสือแห่งชาติของไทย จึงมีความตั้งใจที่จะให้ความช่วยเหลือสนับสนุน การพัฒนากิจการลูกเสือในประเทศเพื่อบ้าน และเป็นเจ้าภาพจัดกิจกรรมลูกเสือระหว่างประเทศที่สำคัญ อาทิ การประชุมลูกเสือโลก การประชุมสมัชชาลูกเสือภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก งานชุมนุมลูกเสือโลก ตลอดจนกิจกรรมต่างๆ ของมูลนิธิลูกเสือโลก | |||
ด้วยทรงเป็นผู้ที่ได้รับความเคารพเทิดทูนในสังคมไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าออยู่หัว ในฐานะพระประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ ทรงดำรงสถานะพิเศษที่มีบทบาทสำคัญในการกำหนดทิศทาง ของกิจการลูกเสือในประเทศไทยและกิจกรรมของลูกเสือไทยในต่างประเทศ การสนับสนุนอย่างยิ่งใหญ่ของพระองค์ในฐานะ พระประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติของไทย ได้เป็นแรงบันดาลใจให้บุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยสะท้อนให้เห็นได้จากความเชื่อมั่นที่บุคคลเหล่านั้นมีต่อกิจการลูกเสือในประเทศไทย และในเวทีกิจการลูกเสือโลก อาทิ คณะกรรมการลูกเสือโลก คณะกรรมการและอนุกรรมการลูกเสือภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก และมูลนิธิลูกเสือโลก</div> | |||
---- | |||
[[ภาพ:ลูกเสือโลก.jpg|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จออก ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต ทรงรับสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ล ที่ ๑๖ กุสตาฟแห่งสวีเดน|center]] | |||
<center>วันอังคาร ที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๔๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จออก ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต <br>ทรงรับสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ล ที่ ๑๖ กุสตาฟแห่งสวีเดน ในฐานะทรงเป็นประธานกิตติมศักดิ์ของมูลนิธิลูกเสือโลก<br>ซึ่งเฝ้าถวายอิสริยาภรณ์สดุดีลูกเสือโลก | |||
</center> | |||
[[ภาพ:ลูกเสือโลก2.jpg|ประกาศนียบัตรและอิสริยาภรณ์สดุดีลูกเสือโลก|center]] | |||
<center>ประกาศนียบัตรและอิสริยาภรณ์สดุดีลูกเสือโลก</center> | |||
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 07:39, 15 กรกฎาคม 2551
(คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ)
คำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในโอกาสที่องค์การลูกเสือโลก สมาพันธรัฐสวิส
ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายอิสริยาภรณ์สดุดีลูกเสือโลก
ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต
วันอังคาร ที่ ๒๐ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๔๙
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในฐานะพระประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติของไทย ทรงเป็นผู้นำที่เป็นแรงบันดาลใจให้แก่ ลูกเสือผู้มีบทบาทเกี่ยวข้องกับกิจกรรม ที่สนับสนุนการพัฒนาระดับประเทศ ด้วยพระปรีชาสามารถในกิจการระหว่างประเทศ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนับสนุนสำนักงานคณะกรรมการลูกเสือแห่งชาติของไทย ให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมโดยผ่านทางการให้การศึกษาแก่เหล่าลูกเสือ ไม่เฉพาะในระดับท้องถิ่น และระดับชาติเท่านั้น แต่ยังรวมถึงในระดับนานาประเทศด้วย
ด้วยพระราชกรณียกิจที่ปรากฎโดดเด่นนั้น สำนักงานคณะกรรมการลูกเสือแห่งชาติของไทย จึงมีความตั้งใจที่จะให้ความช่วยเหลือสนับสนุน การพัฒนากิจการลูกเสือในประเทศเพื่อบ้าน และเป็นเจ้าภาพจัดกิจกรรมลูกเสือระหว่างประเทศที่สำคัญ อาทิ การประชุมลูกเสือโลก การประชุมสมัชชาลูกเสือภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก งานชุมนุมลูกเสือโลก ตลอดจนกิจกรรมต่างๆ ของมูลนิธิลูกเสือโลก
ด้วยทรงเป็นผู้ที่ได้รับความเคารพเทิดทูนในสังคมไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าออยู่หัว ในฐานะพระประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ ทรงดำรงสถานะพิเศษที่มีบทบาทสำคัญในการกำหนดทิศทาง ของกิจการลูกเสือในประเทศไทยและกิจกรรมของลูกเสือไทยในต่างประเทศ การสนับสนุนอย่างยิ่งใหญ่ของพระองค์ในฐานะ พระประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติของไทย ได้เป็นแรงบันดาลใจให้บุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยสะท้อนให้เห็นได้จากความเชื่อมั่นที่บุคคลเหล่านั้นมีต่อกิจการลูกเสือในประเทศไทย และในเวทีกิจการลูกเสือโลก อาทิ คณะกรรมการลูกเสือโลก คณะกรรมการและอนุกรรมการลูกเสือภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก และมูลนิธิลูกเสือโลก
ทรงรับสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ล ที่ ๑๖ กุสตาฟแห่งสวีเดน ในฐานะทรงเป็นประธานกิตติมศักดิ์ของมูลนิธิลูกเสือโลก
ซึ่งเฝ้าถวายอิสริยาภรณ์สดุดีลูกเสือโลก
หน้าแรกประมวลคำสดุดีพระเกียรติคุณฯ | บัญชีปริญญาดุษฎีบัณฑิตฯ | บัญชีตำแหน่งสมาชิกกิตติมศักดิ์ฯ | บัญชีรางวัลฯ | พระราชกรณียกิจ |