ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแพทย์"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
|||
(ไม่แสดง 55 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
== <div | <div id="bg_g1t"> </div> | ||
<div id="bg_g1"> | |||
<div id="bg_g0t"> | |||
__NOTOC__ | |||
==='''<h3>แรกพระราชดำริสาธารณสุข : ทรงห่วงใยด้านสุขภาพอนามัย</h3>'''=== | |||
[[ภาพ:อาคารมหิดลวงศานุสรณ์.jpg|200px|left|อาคารมหิดลวงศานุสรณ์]]<div class="kindent">เมื่อเสด็จนิวัตประเทศไทย ในปี พ.ศ.๒๔๙๓ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงนำยารักษาวัฒโรคขนานใหม่มาพระราชทานแก่กระทรวงสาธารณสุข และได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสร้าง "อาคารมหิดลวงศานุสรณ์" บริเวณถานเสาวภา สำหรับใช้ในการผลิตวัคซีน บีซีจี ซึ่งเป็นยาฉีดให้แก่เด็กเพื่อป้องกันวัณโรค ต่อมายานี้ใช้ป้องกันโรคเรื้อนได้อีกด้วย</div> | |||
<div class="kgreen">"...การแพทย์และการสาธารณสุขเป็นพื้นฐานที่สำคัญอย่างหนึ่งของการพัฒนาประเทศ ไม่มีประเทศใดในโลกจะเจริญก้าวหน้าได้อย่างสมบูรณ์ หากประชากรในประเทศนั้น ๆ ยังมีสุขภาพพลานามัยไม่ดีพอ..."</div> | |||
<div style=" | <div style="clear:both"></div> | ||
<div | ==='''พุทธศักราช ๒๔๙๖ จุดเริ่มต้นมาจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ จำนวน ๕๐๐,๐๐๐ บาท'''=== | ||
<div | [[ภาพ:อาคารอานันทมหิดล.jpg|150px|right|อาคารอานันทมหิดล]]<div class="kindent">โครงการพระราชดำริด้านการแพทย์และสาธารณสุข มีจุดเริ่มต้นมาจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ จำนวน ๕๐๐,๐๐๐ บาท ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแก่ กองวิทยาศาสตร์สภากาชาดไทย สำหรับนำไปสร้างตึกมหิดลวงศานุสรณ์ ในบริเวณสถานเสาวภา เพื่อใช้ในกิจการทางด้านวิทยาศาสตร์ และในการผลิตวัคซีน บี.ซี.จี. ป้องกันวัณโรค ดังที่ได้มีพระราชปรารภ เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๖ กับหลวงพยุงเวชศาสตร์ ขณะดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมสาธารณสุขความตอนหนึ่งว่า</div> | ||
<div class="kgreen"> | |||
"คุณหลวง วัณโรคสมัยนี้มียารักษากันได้เด็ดขาดหรือยัง ยาอะไรขาด ถ้าต้องการฉันจะหาให้อีก ฉันอยากเห็นกิจการแพทย์ของเมืองไทยเจริญมากๆ..."</div> | |||
<div class="kindent">ต่อมาได้พระราชทานความช่วยเหลือโดยพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ไปจัดซื้อเครื่องช่วยหายใจ หรือ "ปอดเหล็ก" จากต่างประเทศ จำนวน ๓ เครื่อง ให้กับผู้ป่วยโปลิโอ (โรคไขสันหลังอักเสบ) เพื่อช่วยเหลือคนไข้ที่มีอาการกล้ามเนื้อในการหายใจเป็นอัมพาต อีกทั้งได้พระราชทานเงินจัดตั้ง "ทุนโปลิโอสงเคราะห์" สำหรับช่วยเหลือผู้ป่วยและ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดซื้อเครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ในการรักษาโรคพระราชทานไปยังโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เพื่อใช้ในการรักษาพยาบาล ตลอดจนทรงให้การสนับสนุนในการค้นคว้าทางวิชาการและให้ก่อสร้างตึก "วชิราลงกรณธาราบำบัด" ไว้เป็นสถานที่รักษาด้วยวิธีทางกายภาพบำบัด โดยใช้น้ำช่วยพยุงร่างกายระหว่างการบริหารและฟื้นฟูกล้ามเนื้อ | |||
ผลจากการพัฒนาตามแนวพระราชดำริอย่างต่อเนื่องพบว่า ในปัจจุบันไม่มีรายงานการติดเชื้อด้วยโรคโปลิโอ ส่วนวัณโรคนั้น อาจจะยังมีผู้ป่วยด้วยโรคนี้อยู่บ้าง แต่สามารถควบคุมการระบาดของโรคไว้ได้ จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุข ในช่วงเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘ มีผู้ป่วยวัณโรคจำนวน ๓,๐๘๑ คน คิดเป็นผู้ป่วย ๔.๙ คนต่อประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน วัณโรคจึงมิใช่เป็นโรคที่มีการแพร่ระบาดอย่างน่าวิตกเช่นครั้งในอดีตอีกต่อไป</div> | |||
< | |||
<center>[[ภาพ:โปลิโอ1.jpg|300px|ในหลวงเสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรการบริการหยอดยาโปลิโอ]][[ภาพ:โปลิโอ2.jpg|300px|ในหลวงทรงหยอดยาโปลิโอแก่เด็ก]]</center> | |||
==='''ทรงเกื้อกูลสถานพยาบาลอย่างทั่วถึง'''=== | |||
<div class="kindent">ในการส่งเสริมสนับสนุน ทางการแพทย์และสาธารณสุขให้มีความก้าวหน้ามากยิ่งขึ้นนั้น นอกจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เป็นจำนวนมากแล้ว ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ประชาชนได้ร่วมบริจาคผ่านงานการกุศลต่างๆ ที่ทรงจัดขึ้น อาทิ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำภาพยนตร์ส่วนพระองค์ไปฉายตามโรงภาพยนตร์ให้ประชาชนชมในวาระสำคัญต่างๆ เพื่อนำรายได้มาสนับสนุนการจัดหาเครื่องมืออุปกรณ์ระบบสาธารณูปโภค ตลอดจนการก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ให้แก่สถานพยาบาลต่างๆ ทั่วประเทศเพื่อเพิ่มศักยภาพงานบริการให้ดียิ่งขึ้น | |||
< | |||
</div> | </div> | ||
'''ตาราง''' งานพระราชกุศลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ประชาชนได้ร่วมทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเงินบริจาคโดยเสด็จพระราชกุศล | |||
<center> | |||
{| width="90%" border="1" | |||
|align = "center" width="80"|พุทธศักราช||align = "center" width="250"|รายละเอียด||align = "center" width="250"|เป้าประสงค์ | |||
|- | |||
|align = "center"|๒๔๙๓||การฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์ชุดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกและพระราชพิธีราชาภิเษกสมรส||บำรุงโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชของกองทัพอากาศ | |||
|- | |||
|align = "center"|๒๔๙๙||การฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์ที่โรงภาพยนตร์<br>ศาลาเฉลิมกรุง||ก่อสร้างอาคารอานันทมหิดล โรงพยาบาลศิริราช | |||
|- | |||
|align = "center"|๒๕๐๑||การเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรภาพยนตร์เรื่องลมรัก ที่โรงภาพยนตร์ควีนส์<br>||สนับสนุนอุปกรณ์ใช้ในตึกสมเด็จพระมหาวีรวงศ์<br>โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จังหวัดอุบลราชธานี | |||
|- | |||
|align = "center"|๒๕๐๔||การฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์<br>||สร้างอาคารเพื่อการวิจัยและพัฒนาบำบัดโรคทางระบบประสาท สถาบันประสาทวิทยา<br> | |||
|- | |||
|align = "center"|๒๕๐๖||การฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์ชุดเสด็จ<br>พระราชดำเนินไปทรงเยือนญี่ปุ่นและสาธารณรัฐจีน||เป็นทุนแรกเริ่มในการก่อสร้างอาคารคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | |||
|- | |||
|align = "center"|๒๕๐๖||การฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์ชุดเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยือนมาเลเซีย<br>เครือรัฐออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์||ก่อสร้างโรงเรียนราชานุกูล<br>ผ่านมูลนิธิช่วยคนปัญญาอ่อนแห่งประเทศไทย | |||
|- | |||
|align = "center"|๒๕๑๔||การฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์||ตั้งกองทุนสร้างตึกสงฆ์อาพาธในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ<br>ศูนย์รักษาคนไข้โรคจิตในจังหวัดภาคใต้ | |||
|- | |||
|} | |||
</center> | |||
<div style="color:red">หมายเหตุ: ตารางนี้เป็นเพียงการฉายภาพยนตร์ พุทธศักราช ๒๔๙๓ - ๒๕๑๔ เพื่อให้ประชาชนได้ร่วมทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเงินโดยเสด็จพระราชกุศล เพื่องานทางการแพทย์และสาธารณสุขเท่านั้น | |||
ที่มา: สาธารณสุขของแผ่นดิน พุทธศักราช ๒๕๕๐ กระทรวงสาธารณสุข | |||
</div> | </div> | ||
<h3>พระราชทานชีวิตใหม่แก่ผู้ป่วยทุพพลภาพ</h3> | |||
<div class="kindent">ในพุทธศักราช ๒๕๑๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมทหารบาดเจ็บที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ได้ทอดพระเนตรเห็นทหารที่ถูกส่งกลับจากสมรภูมิเวียดนามจำนวนมากสูญเสียอวัยวะแขนและขา จึงมีพระราชปรารภกับเจ้ากรมการแพทย์ทหารบกว่าโรงพยาบาลควรมีโครงการทำอวัยวะเทียมและโครงการฟื้นฟูสมรรถภาพทหารด้วย อันเป็นที่มาของการจัดตั้งหน่วยแขน - ขาเทียมพระราชทาน ในพุทธศักราช ๒๕๑๓ โดยพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ก่อตั้งโรงงานผลิตแขน - ขาเทียม และจัดโครงการฟื้นฟูสมรรถภาพ ทรงสนับสนุนให้จัดตั้งศูนย์ฝึกอาชีพพระราชทานที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เพื่อช่วยให้ทหารพิการมีอาชีพใหม่เลี้ยงตนได้ต่อไป | |||
โครงการพระราชทานแขน - ขาเทียมนี้ ในระยะต่อมาได้ขยายออกไปช่วยเหลือราษฎรทุพพลภาพที่ทรงพบในระหว่างเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรด้วยมีพระมหากรุณารับผู้พิการแขน - ขาเหล่านี้ไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ โดยหน่วยแขน - ขาเทียมเคลื่อนที่ของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าที่ติดตามในขบวนเสด็จออกให้บริการได้อย่างรวดเร็วโดยไม่คิดมูลค่า ช่วยให้ผู้ทุพพลภาพเหล่านั้นสามารถเคลื่อนไหวประกอบภารกิจ | |||
หรืออาชีพได้ เสมือนพระราชทานชีวิตใหม่แก่ราษฎรให้กลับคืนมามีคุณค่า ไม่ต้องเป็นภาระของครอบครัวหรือสังคม รวมทั้งยังสามารถประกอบอาชีพเพื่อเลี้ยงตนเองและครอบครัวได้เป็นอย่างดี | |||
ด้วยน้ำพระราชหฤทัยและพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระราชทานโครงการด้านการแพทย์และสาธารณสุขแก่ราษฎรที่เจ็บป่วยและขาดแคลนโอกาสในการเข้าถึงบริการของภาครัฐ เปรียบเสมือนได้พระราชทานชีวิตใหม่ที่แข็งแรงสมบูรณ์แก่ราษฎร ให้พร้อมต่อการพัฒนาประเทศให้ก้าวหน้ายั่งยืนพร้อมกันนี้ โครงการพระราชทานเหล่านั้นได้เป็นรากฐานของการพัฒนากิจการทางการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศ ทำให้ปัจจุบันอาจกล่าวได้ว่า วิทยาการตลอดจนบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขของไทยได้พัฒนาก้าวหน้าอย่างโดดเด่นจนเป็นที่ยอมรับในวงการแพทย์ทั่วโลกอย่างเต็มภาคภูมิ | |||
</div> | |||
<h3>พระราชกรณียกิจอื่นๆ ด้านการแพทย์และสาธารณสุข</h3> | |||
*[[การแพทย์และสาธารณสุขเชิงรุก|'''พุทธศักราช ๒๔๙๖ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่หน่วยแรก''']] | |||
*[[โรคเรื้อน|'''พุทธศักราช ๒๔๙๘ โรคเรื้อนระบาด''']] | |||
*[[อหิวาตกโรค|'''พุทธศักราช ๒๕๐๑ โรคอหิวาตกโรคระบาด''']] | |||
{{ดูเพิ่มเติม|[[เรือเวชพาหน์]] / [[มูลนิธิอานันทมหิดล]] / [[โรคเรื้อน]]}} | |||
</div> | |||
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]] | [[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]][[หมวดหมู่:การแพทย์และสาธารณสุข]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 07:54, 1 ตุลาคม 2552
แรกพระราชดำริสาธารณสุข : ทรงห่วงใยด้านสุขภาพอนามัย
พุทธศักราช ๒๔๙๖ จุดเริ่มต้นมาจากพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ จำนวน ๕๐๐,๐๐๐ บาท
ทรงเกื้อกูลสถานพยาบาลอย่างทั่วถึง
ตาราง งานพระราชกุศลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ประชาชนได้ร่วมทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเงินบริจาคโดยเสด็จพระราชกุศล
พุทธศักราช | รายละเอียด | เป้าประสงค์ |
๒๔๙๓ | การฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์ชุดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกและพระราชพิธีราชาภิเษกสมรส | บำรุงโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชของกองทัพอากาศ |
๒๔๙๙ | การฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์ที่โรงภาพยนตร์ ศาลาเฉลิมกรุง |
ก่อสร้างอาคารอานันทมหิดล โรงพยาบาลศิริราช |
๒๕๐๑ | การเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรภาพยนตร์เรื่องลมรัก ที่โรงภาพยนตร์ควีนส์ |
สนับสนุนอุปกรณ์ใช้ในตึกสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จังหวัดอุบลราชธานี |
๒๕๐๔ | การฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์ |
สร้างอาคารเพื่อการวิจัยและพัฒนาบำบัดโรคทางระบบประสาท สถาบันประสาทวิทยา |
๒๕๐๖ | การฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์ชุดเสด็จ พระราชดำเนินไปทรงเยือนญี่ปุ่นและสาธารณรัฐจีน |
เป็นทุนแรกเริ่มในการก่อสร้างอาคารคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
๒๕๐๖ | การฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์ชุดเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยือนมาเลเซีย เครือรัฐออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ |
ก่อสร้างโรงเรียนราชานุกูล ผ่านมูลนิธิช่วยคนปัญญาอ่อนแห่งประเทศไทย |
๒๕๑๔ | การฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์ | ตั้งกองทุนสร้างตึกสงฆ์อาพาธในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ ศูนย์รักษาคนไข้โรคจิตในจังหวัดภาคใต้ |
ที่มา: สาธารณสุขของแผ่นดิน พุทธศักราช ๒๕๕๐ กระทรวงสาธารณสุข
พระราชทานชีวิตใหม่แก่ผู้ป่วยทุพพลภาพ
โครงการพระราชทานแขน - ขาเทียมนี้ ในระยะต่อมาได้ขยายออกไปช่วยเหลือราษฎรทุพพลภาพที่ทรงพบในระหว่างเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรด้วยมีพระมหากรุณารับผู้พิการแขน - ขาเหล่านี้ไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ โดยหน่วยแขน - ขาเทียมเคลื่อนที่ของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าที่ติดตามในขบวนเสด็จออกให้บริการได้อย่างรวดเร็วโดยไม่คิดมูลค่า ช่วยให้ผู้ทุพพลภาพเหล่านั้นสามารถเคลื่อนไหวประกอบภารกิจ หรืออาชีพได้ เสมือนพระราชทานชีวิตใหม่แก่ราษฎรให้กลับคืนมามีคุณค่า ไม่ต้องเป็นภาระของครอบครัวหรือสังคม รวมทั้งยังสามารถประกอบอาชีพเพื่อเลี้ยงตนเองและครอบครัวได้เป็นอย่างดี
ด้วยน้ำพระราชหฤทัยและพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่พระราชทานโครงการด้านการแพทย์และสาธารณสุขแก่ราษฎรที่เจ็บป่วยและขาดแคลนโอกาสในการเข้าถึงบริการของภาครัฐ เปรียบเสมือนได้พระราชทานชีวิตใหม่ที่แข็งแรงสมบูรณ์แก่ราษฎร ให้พร้อมต่อการพัฒนาประเทศให้ก้าวหน้ายั่งยืนพร้อมกันนี้ โครงการพระราชทานเหล่านั้นได้เป็นรากฐานของการพัฒนากิจการทางการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศ ทำให้ปัจจุบันอาจกล่าวได้ว่า วิทยาการตลอดจนบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขของไทยได้พัฒนาก้าวหน้าอย่างโดดเด่นจนเป็นที่ยอมรับในวงการแพทย์ทั่วโลกอย่างเต็มภาคภูมิ
พระราชกรณียกิจอื่นๆ ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
- พุทธศักราช ๒๔๙๖ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่หน่วยแรก
- พุทธศักราช ๒๔๙๘ โรคเรื้อนระบาด
- พุทธศักราช ๒๕๐๑ โรคอหิวาตกโรคระบาด
ดูเพิ่มเติม | เรือเวชพาหน์ / มูลนิธิอานันทมหิดล / โรคเรื้อน |
---|