ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแก้ปัญหาคมนาคมในมหานคร"
(สร้างหน้าใหม่: <div id="bg_g1t"> </div> <div id="bg_g1"> <h1>พุทธศักราช ๒๕๑๔ การแก้ปัญหาคมนาคมในม...) |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 41: | บรรทัดที่ 41: | ||
[[ภาพ:ถนน.jpg|ถนนรถคับคั่ง|left]]<div class="kindent">นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังมีโครงการถนนวงแหวนอุตสาหกรรม เพื่อแก้ปัญหาจราจรในเขตอุตสาหกรรมของจังหวัดสมุทรปราการอีกแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยโครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ๒ สะพาน ที่ปลายถนนปู่เจ้าสมิงพราย อำเภอพระประแดง โดยเมื่อข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาไปแล้วจะบรรจบกับถนนพระราม ๓ ซึ่งจะช่วยระบายปริมาณรถที่มาจากถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ย่านสีลม และสาทรได้มากขึ้น | [[ภาพ:ถนน.jpg|ถนนรถคับคั่ง|left]]<div class="kindent">นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังมีโครงการถนนวงแหวนอุตสาหกรรม เพื่อแก้ปัญหาจราจรในเขตอุตสาหกรรมของจังหวัดสมุทรปราการอีกแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยโครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ๒ สะพาน ที่ปลายถนนปู่เจ้าสมิงพราย อำเภอพระประแดง โดยเมื่อข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาไปแล้วจะบรรจบกับถนนพระราม ๓ ซึ่งจะช่วยระบายปริมาณรถที่มาจากถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ย่านสีลม และสาทรได้มากขึ้น | ||
<div style="clear:both"></div> | <div style="clear:both"></div> | ||
บรรทัดที่ 51: | บรรทัดที่ 48: | ||
{{ดูเพิ่มเติม|[[ถนนหยดน้ำ]] / [[ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม]] / [[ทางคู่ขนานลอยฟ้า]] / [[จตุรทิศตะวันตก-ตะวันออก]] / [[จราจร]] / [[สะพานพระราม8]] / [[ถนนรัชดาภิเษก]] / [[ถนนกาญจนาภิเษก]]}} | {{ดูเพิ่มเติม|[[ถนนหยดน้ำ]] / [[ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม]] / [[ทางคู่ขนานลอยฟ้า]] / [[จตุรทิศตะวันตก-ตะวันออก]] / [[จราจร]] / [[สะพานพระราม8]] / [[ถนนรัชดาภิเษก]] / [[ถนนกาญจนาภิเษก]]}} | ||
</div> | </div> | ||
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]][[หมวดหมู่:คมนาคม สาธารณูปโภค สื่อสาร]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 08:42, 1 ตุลาคม 2552
พุทธศักราช ๒๕๑๔ การแก้ปัญหาคมนาคมในมหานคร
"... สำหรับการจราจรเครื่องมือนั้นสำคัญที่สุดก็คือถนน ก็ต้องมีถนนที่เหมาะสม มีเครื่องควบคุมจราจรที่เหมาะสม และมีเกฎเกณฑ์ของแต่ละแห่ง แต่ละส่วนของผิวจราจรนั้นให้เหมาะสม อันนี้ก็ไม่ใช่เรื่องนิติศาสตร์ ไม่ใช่เรื่องรัฐศาสตร์ หรือของตำรวจ หรือของศาล เป็นเรื่องของวิศวกรรม ก็จะต้องทำวิศวกรรมให้ดีขึ้น คือ หมายความว่า ทำถนนให้ดีขึ้นให้สอดคล้อง ซึ่งเป็นการบ้านที่หนักที่สุด เพราะว่ากรุงเทพฯ ได้สร้างมาเป็นเวลา ๒๐๐ ปีแล้ว ไม่ได้มีผังเมืองที่จริงๆ จัง ๆ ก็มีการผังเมืองของทางการ แต่ว่าก็ไม่ค่อยได้ประโยชน์มากนัก เพราะว่าคนไทยตามชื่อเป็นคนไทย คือมีอิสระบังคับกันไม่ได้ จะสร้างอะไรก็สร้าง อยากจะสร้างเดี๋ยวก็สร้างไปขวางกับคนอื่น คือขวางทางอื่น อันนี้ก็เลยแก้ไขไม่ได้..."
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเข้าพระราชหฤทัยถึงความเดือดร้อนของประชาชน ที่ต้องเผชิญอยู่กับปัญหาการจราจรทุกวันได้เป็นอย่างดี ดังพระราชดำรัสที่ได้พระราชทานแก่เอกอัครราชทูต และกงศุลใหญ่ที่ประจำการในต่างประเทศ เนื่องในโอกาสเข้าเฝ้าฯ เมื่อวันที่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๓๘ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ความตอนหนึ่งว่า
การที่ทรงทราบว่าการจราจรในกรุงเทพมหานครคับคั่งนั้น ทรงอธิบายว่า
พระราชดำริ...เชื่อมต่อถนน
โครงการก่อสร้างปรับปรุงขยายผิวจราจร ถนนราชดำเนิน บริเวณหน้ากรมประชาสัมพันธ์ โครงการขยายสะพานผ่านฟ้าลีสาศ โครงการก่อสร้างถนนรัชดาภิเษก
ทางเชื่อมจตุรทิศ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดำรัส ถึงความเป็นมาเมื่อวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๓๘ ณ พระตำหนักจิตรลดรโหฐาน ความว่า
**ข้อมูลจาก หนังสือ ๘๐ พรรษา ปวงประชาสุขศานต์ จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ดูเพิ่มเติม | ถนนหยดน้ำ / ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม / ทางคู่ขนานลอยฟ้า / จตุรทิศตะวันตก-ตะวันออก / จราจร / สะพานพระราม8 / ถนนรัชดาภิเษก / ถนนกาญจนาภิเษก |
---|