ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบิดาแห่งการประดิษฐ์ไทย"
ล (นักประดิษฐ์ ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น บิดาแห่งการประดิษฐ์ไทย) |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
''' | '''บิดาแห่งการประดิษฐ์ไทย''' | ||
=== === | |||
<u>ความสำคัญ</u> | |||
<div class="kindent">วันนักประดิษฐ์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงพระปรีชาสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งที่เป็นประโยชน์ มาแก้ไขปัญหาการพัฒนาประเทศ และเพื่อเป็นที่ระลึกวันประวัติศาสตร์ ของการจดทะเบียน และออกสิทธิบัตรให้แก่พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของโลก ซึ่งจะเห็นได้จากพระราชประวัติที่ทรงมีพระปรีชาสามารถและทรงสนพระราชหฤทัย ในด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยี พร้อมกันนี้เป็นการส่งเสริมสนับสนุนการประดิษฐ์คิดค้นของนักประดิษฐ์ ประชาชนทั่วไป และผู้สนใจการประดิษฐ์ ให้มีโอกาสแสดงความรู้ ความสามารถต่อสาธารณชน เพื่อส่งผลให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีในการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติอย่างกว้างขวาง | |||
</div> | |||
<u>พระราชประวัติ</u> | |||
<div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงศึกษาวิชาการเบื้องต้น ณ โรงเรียนมาแตร์เดอี เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองได้เสด็จไปประทับที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์และทรงศึกษาต่อที่ประเทศนั้นจนจบชั้นอุดมศึกษา ในช่วงต้นของการศึกษาระดับอุดมศึกษานั้น พระองค์ทรงศึกษาในสาขาวิทยาศาสตร์ และหลังจากที่ได้เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 9 แล้วทรงเปลี่ยนแนวการศึกษาจากทางด้านวิทยาศาสตร์มาเป็นทางด้านสังคมศาสตร์เพื่อเตรียมรับพระราชภารกิจในฐานะองค์พระมหากษัตริย์ | |||
ในที่นี้ จะขออัญเชิญบทพระราชทานสัมภาษณ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงให้ไว้กับผู้จัดทำรายการพูดจาประสาช่าง ซึ่งได้พิมพ์ในวิศวกรรมสาร '''“ในหลวงกับงานช่าง”''' ความตอนหนึ่งว่า “เท่าที่สังเกตมาตั้งแต่ยังจำความได้ ก็เห็นท่านทำงานช่างอยู่หลายอย่างท่านเคยเล่าให้ฟังว่า เมื่อตอนเด็กๆ นั้น ท่านก็มีความสนพระทัยในงานช่างมาก แล้วก็ตอนท่านเล็กๆ สมเด็จย่าเลี้ยงท่านอย่างค่อนข้างเข้มงวด คือ แม้แต่ของเล่น ก็ไม่ได้มีของเล่นมากมายสำเร็จรูป อย่างฟุ่มเฟือยเหมือนอย่างเด็กๆ สมัยนี้ แม้แต่เงินทอง ที่สมเด็จย่าให้เป็นค่าขนมแต่ละครั้งนั้น ก็ให้อย่างจำกัด จะซื้อหาอยากได้อะไรแต่ละอย่างก็ต้องคิดว่าจะเอาอะไรก่อน อะไรหลัง อะไรคุ้มดีไหม อย่างเช่น ท่านอยากได้วิทยุมาฟังท่านก็ต้องเข้าหุ้นกับทูลกระหม่อมลุง ซื้อชิ้นส่วนของวิทยุทีละชิ้นๆ เอามาประกอบเองเป็นวิทยุ ซึ่งก็ต้องฟังกัน 2 คน ที่เข้าหุ้นกัน แล้วก็การที่บางครั้งเงินที่ได้รับเป็นค่าขนมก็ไม่พอที่จะซื้อของ ที่ท่านอยากได้ก็ต้องมีการหาเงินพิเศษ วิธีหาเงินพิเศษนั้น ก็ต้องใช้ความสามารถของท่านเองนี่แหละ เช่นมีพี่เลี้ยงซึ่งก็ไม่กล้าให้เงินท่านโดยไม่มีเหตุผลเวลาทำอะไรให้แก แกถึงจะให้ได้เช่น เวลาจักรเย็บผ้าแกเสีย ท่านตอนนั้นก็ซัก 10 ขวบ ท่านก็แก้ได้ แก้ได้ก็ได้สตางค์เพื่อเป็นค่าจ้างแก้จักร | |||
จากพระราชประวัติ ทำให้เราสามารถเข้าใจถึงทัศนคติและความสนพระราชหฤทัย ในวิชาการทางด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยี พระปรีชาสามารถนี้ ยังคงอยู่ในพระราชหฤทัยตลอดมา หลังจากที่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จขึ้นครองราชย์แล้ว พระราชกรณียกิจสิ่งหนึ่ง เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนคือการเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมราษฎร ในปี พ.ศ. 2498 นับเป็นครั้งแรกที่พระมหากษัตริย์ไทย เสด็จไปในพื้นทีทุรกันดารในภาคตะวันออกเฉียงเหนือนับจากครั้งนั้น ก็เสด็จพระราชดำเนินทั่วภูมิภาคในประเทศไทยตลอดมาทุกปี ทำให้ทรงทราบถึงสภาพความเป็นอยู่ของราษฎร สภาพภูมิประเทศตลอดจนข้อมูลต่างๆ อย่างถ่องแท้ สำหรับประกอบพระบรมราชวินิจฉัยในการพระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์แก่ราษฎรและก่อให้เกิดโครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ซึ่งมีมากมายเหลือคณานับ โครงการเหล่านี้ต้องอาศัยเทคโนโลยีหลายๆ ด้าน รวมทั้งวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่างๆ ซึ่งพระองค์ทรงพระปรีชาสามารถอยู่ในพระราชหฤทัยหลายด้านตลอดมา อันได้แก่ ด้านวิศวกรรมสำรวจ ด้านวิศวกรรมทางเรือ ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า และสื่อสาร ด้านวิศวกรรมการเกษตร ด้านวิศวกรรมการชลประทาน ด้านวิศวกรรมเครื่องกล ด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาด้านวิชาชีพอื่นๆ อีกหลายสาขา | |||
</div> | |||
<u>พระราชกรณียกิจ</u> | |||
<div class="kindent">จากพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในการเสด็จแปรพระราชฐานและประทับแรม ณ พระตำหนัก ตามภูมิภาคใดก็ตามในการเสด็จเยี่ยมเยียนดูแลทุกข์สุขของราษฎรแต่ละครั้ง นอกจากจะเพื่อทรงหาทางช่วยเหลือพสกนิกร ทุกท้องถิ่นให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขสบายทัดเทียมกันแล้ว พระราชกรณียกิจด้านหนึ่งที่พระองค์ทรงสนพระราชหฤทัย นอกเหนือจากงานพัฒนาแหล่งน้ำและงานพัฒนาด้านอื่นๆ หลากหลายสาขาแล้ว ยังทรงสนพระราชหฤทัยในเรื่องการประดิษฐ์เครื่องจักรกลเพื่อใช้ในการเกษตรรูปแบบต่างๆ ซึ่งเป็นเครื่องจักรกลที่ทรงเลือกใช้เทคโนโลยีแบบง่ายๆ ใช้ภูมิปัญญาของเราเอง แบบไทยทำ ไทยใช้ ลดการพึ่งพาเศรษฐกิจจากภายนอก คือ เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งเมื่อนำไปใช้ในภูมิภาคใดย่อมจะเกิดผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมกับพสกนิกรของพระองค์ในภูมิภาคนั้นๆ อีกทั้งวัสดุต่างๆ ใช้ในการประดิษฐ์ก็ใช้วัสดุภายในประเทศและหาซื้อได้ในทุกภูมิภาค และสิ่งประดิษฐ์ที่พัฒนาขึ้นมาจะเน้นความง่ายต่อการใช้งาน ง่ายต่อการซ่อมบำรุง และราคาจะต้องถูกอีกด้วย | |||
</div> | |||
<u>งานประดิษฐ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว</u> | |||
<div class="kindent">เป็นที่ทราบกันดีกว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีฝีพระหัตถ์เป็นเยี่ยมในด้านการช่าง ไม่ว่าจะเป็นงานช่างไม้ ช่างโลหะ หรือช่างกล ซึ่งเป็นงานพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ ครั้งยังทรงพระเยาว์ขณะประทับที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ นั้นทรงมีห้องปฏิบัติหรือที่เรียกว่า “เวิร์กช้อป” อยู่ในพระตำหนักวิลลาวัฒนา ทรงใช้เวิร์กช้อปนี้ประดิษฐ์เรือใบด้วยพระองค์เองเพื่อนำ | |||
ไปใช้ในการแข่งขันกีฬา ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าการใช้เรือใบดังกล่าวทรงพิชิตเหรียญทองในการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 4 ปี พ.ศ. 2510 เหนืออื่นใดคือพระองค์ทรงต่อเรือใบเองด้วย | |||
<u>ทรงออกแบบเรือใบมด</u> | |||
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระราชหฤทัยในการพัฒนากีฬาเรือใบ พระองค์ทรงพระปรีชาสามารถ เมื่อปี พ.ศ. 2510 พระองค์ทรงพระฐานะเป็นนักกีฬาตัวแทนของไทยลงแข่งขันเรือใบซึ่งเป็นกีฬาที่โปรดเป็นพิเศษในกีฬาแหลมทองครั้งที่ 4 ด้วยพระปรีชาสามารถ พระองค์ทรงชนะเลิศรางวัลเหรียญทองจากการแข่งขันครั้งนั้น ไม่เพียงแต่พระองค์โปรดการเล่นเรือใบเท่านั้น หากในยามที่ทรงเว้นว่างจากพระราชกรณียกิจ และทรงออกแบบ และสร้างเรือใบด้วยฝีพระหัตถ์ของพระองค์เอง เรือใบที่ทรงออกแบบมิได้ตามแบบอย่างต่างชาติ ทรงพระราชทานนามเรือใบลำนั้นว่า “เรือใบมด” (Mod) พระองค์ได้ทรงออกแบบและสร้างเรือใบมดลำแรกด้วยพระองค์เอง คือ เรือใบมด 1 และได้ทรงนำเรือลำนี้ไปแข่งขันที่ประเทศอังกฤษเมื่อคราวเสด็จประพาสครั้งนั้น และทรงสามารถชนะเรือของผู้แข่งขันอื่นในขนาดใกล้เคียงกันได้เรือใบมดที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงออกแบบนั้นเป็นเรือใบเสาเดียว ซึ่งนับว่าเป็นแบบที่เหมาะสมสำหรับใช้ในการแข่งขันมีราคาในการสร้างไม่แพง และสะดวกในการเก็บรักษา มีน้ำหนักเบาสะดวกในการเดินทางและเคลื่อนย้าย มีคุณสมบัติว่องไวดีในการเล่น และกลับลำ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงออกแบบและทรงสร้างเรือใบมดลำแรกขึ้น แล้วได้ทรงทดสอบด้วยการนำไปแข่งขันทั้งในประเทศและต่างประเทศ ปรากฏว่าเรือใบแบบนั้นซึ่งต่อมาโปรดให้เรียกว่า “เรือมด 1” มีความคล่องตัวดี เหมาะสมกับการแข่งขันมาก จึงได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สโมสรกรมอู่ทหารเรือดำเนินการต่อเรือมดขึ้นอีก ซึ่งทำให้ช่างของกรมอู่ทหารเรือมีรายได้เพิ่มขึ้นจากงานประจำอีกด้วย รายได้จากการต่อเรือส่วนหนึ่งได้นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายผู้ออกแบบในฐานะมีกรรมสิทธิ์เป็นเจ้าของแบบ (หรือปัจจุบันอาจจะเรียกว่า เจ้าของสิทธิบัตร) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงเป็นผู้พัฒนาอุตสาหกรรมการต่อเรือ และเริ่มธุรกิจการต่อเรือในประเทศไทยด้วย ต่อมาได้ทรงปรับปรุงแบบเรือมดและได้ทรงออกแบบเรือใบชุดมดอีก 2 ประเภท คือ เรือซุปเปอร์มด และเรือไมโครมด ซึ่งเป็นเรือที่ได้รับความนิยมมากในหมู่สมาชิกแล่นใบชาวไทย | |||
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดำริให้หน่วยงานต่างๆ ทำการคิดค้นวิจัย พัฒนาและประดิษฐ์เครื่องจักรกลใช้พลังงานทดแทนขึ้น | |||
</div> | |||
==='''สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย'''=== | |||
<div style="display:table; width:100%"> | <div style="display:table; width:100%"> | ||
'''๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๖'''<nowiki>*</nowiki> | '''๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๖'''<nowiki>*</nowiki> |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:01, 19 มิถุนายน 2551
บิดาแห่งการประดิษฐ์ไทย
ความสำคัญ
พระราชประวัติ
ในที่นี้ จะขออัญเชิญบทพระราชทานสัมภาษณ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงให้ไว้กับผู้จัดทำรายการพูดจาประสาช่าง ซึ่งได้พิมพ์ในวิศวกรรมสาร “ในหลวงกับงานช่าง” ความตอนหนึ่งว่า “เท่าที่สังเกตมาตั้งแต่ยังจำความได้ ก็เห็นท่านทำงานช่างอยู่หลายอย่างท่านเคยเล่าให้ฟังว่า เมื่อตอนเด็กๆ นั้น ท่านก็มีความสนพระทัยในงานช่างมาก แล้วก็ตอนท่านเล็กๆ สมเด็จย่าเลี้ยงท่านอย่างค่อนข้างเข้มงวด คือ แม้แต่ของเล่น ก็ไม่ได้มีของเล่นมากมายสำเร็จรูป อย่างฟุ่มเฟือยเหมือนอย่างเด็กๆ สมัยนี้ แม้แต่เงินทอง ที่สมเด็จย่าให้เป็นค่าขนมแต่ละครั้งนั้น ก็ให้อย่างจำกัด จะซื้อหาอยากได้อะไรแต่ละอย่างก็ต้องคิดว่าจะเอาอะไรก่อน อะไรหลัง อะไรคุ้มดีไหม อย่างเช่น ท่านอยากได้วิทยุมาฟังท่านก็ต้องเข้าหุ้นกับทูลกระหม่อมลุง ซื้อชิ้นส่วนของวิทยุทีละชิ้นๆ เอามาประกอบเองเป็นวิทยุ ซึ่งก็ต้องฟังกัน 2 คน ที่เข้าหุ้นกัน แล้วก็การที่บางครั้งเงินที่ได้รับเป็นค่าขนมก็ไม่พอที่จะซื้อของ ที่ท่านอยากได้ก็ต้องมีการหาเงินพิเศษ วิธีหาเงินพิเศษนั้น ก็ต้องใช้ความสามารถของท่านเองนี่แหละ เช่นมีพี่เลี้ยงซึ่งก็ไม่กล้าให้เงินท่านโดยไม่มีเหตุผลเวลาทำอะไรให้แก แกถึงจะให้ได้เช่น เวลาจักรเย็บผ้าแกเสีย ท่านตอนนั้นก็ซัก 10 ขวบ ท่านก็แก้ได้ แก้ได้ก็ได้สตางค์เพื่อเป็นค่าจ้างแก้จักร
จากพระราชประวัติ ทำให้เราสามารถเข้าใจถึงทัศนคติและความสนพระราชหฤทัย ในวิชาการทางด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยี พระปรีชาสามารถนี้ ยังคงอยู่ในพระราชหฤทัยตลอดมา หลังจากที่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จขึ้นครองราชย์แล้ว พระราชกรณียกิจสิ่งหนึ่ง เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนคือการเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมราษฎร ในปี พ.ศ. 2498 นับเป็นครั้งแรกที่พระมหากษัตริย์ไทย เสด็จไปในพื้นทีทุรกันดารในภาคตะวันออกเฉียงเหนือนับจากครั้งนั้น ก็เสด็จพระราชดำเนินทั่วภูมิภาคในประเทศไทยตลอดมาทุกปี ทำให้ทรงทราบถึงสภาพความเป็นอยู่ของราษฎร สภาพภูมิประเทศตลอดจนข้อมูลต่างๆ อย่างถ่องแท้ สำหรับประกอบพระบรมราชวินิจฉัยในการพระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์แก่ราษฎรและก่อให้เกิดโครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ซึ่งมีมากมายเหลือคณานับ โครงการเหล่านี้ต้องอาศัยเทคโนโลยีหลายๆ ด้าน รวมทั้งวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่างๆ ซึ่งพระองค์ทรงพระปรีชาสามารถอยู่ในพระราชหฤทัยหลายด้านตลอดมา อันได้แก่ ด้านวิศวกรรมสำรวจ ด้านวิศวกรรมทางเรือ ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า และสื่อสาร ด้านวิศวกรรมการเกษตร ด้านวิศวกรรมการชลประทาน ด้านวิศวกรรมเครื่องกล ด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาด้านวิชาชีพอื่นๆ อีกหลายสาขา
พระราชกรณียกิจ
งานประดิษฐ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ไปใช้ในการแข่งขันกีฬา ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าการใช้เรือใบดังกล่าวทรงพิชิตเหรียญทองในการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 4 ปี พ.ศ. 2510 เหนืออื่นใดคือพระองค์ทรงต่อเรือใบเองด้วย
ทรงออกแบบเรือใบมด
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระราชหฤทัยในการพัฒนากีฬาเรือใบ พระองค์ทรงพระปรีชาสามารถ เมื่อปี พ.ศ. 2510 พระองค์ทรงพระฐานะเป็นนักกีฬาตัวแทนของไทยลงแข่งขันเรือใบซึ่งเป็นกีฬาที่โปรดเป็นพิเศษในกีฬาแหลมทองครั้งที่ 4 ด้วยพระปรีชาสามารถ พระองค์ทรงชนะเลิศรางวัลเหรียญทองจากการแข่งขันครั้งนั้น ไม่เพียงแต่พระองค์โปรดการเล่นเรือใบเท่านั้น หากในยามที่ทรงเว้นว่างจากพระราชกรณียกิจ และทรงออกแบบ และสร้างเรือใบด้วยฝีพระหัตถ์ของพระองค์เอง เรือใบที่ทรงออกแบบมิได้ตามแบบอย่างต่างชาติ ทรงพระราชทานนามเรือใบลำนั้นว่า “เรือใบมด” (Mod) พระองค์ได้ทรงออกแบบและสร้างเรือใบมดลำแรกด้วยพระองค์เอง คือ เรือใบมด 1 และได้ทรงนำเรือลำนี้ไปแข่งขันที่ประเทศอังกฤษเมื่อคราวเสด็จประพาสครั้งนั้น และทรงสามารถชนะเรือของผู้แข่งขันอื่นในขนาดใกล้เคียงกันได้เรือใบมดที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงออกแบบนั้นเป็นเรือใบเสาเดียว ซึ่งนับว่าเป็นแบบที่เหมาะสมสำหรับใช้ในการแข่งขันมีราคาในการสร้างไม่แพง และสะดวกในการเก็บรักษา มีน้ำหนักเบาสะดวกในการเดินทางและเคลื่อนย้าย มีคุณสมบัติว่องไวดีในการเล่น และกลับลำ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงออกแบบและทรงสร้างเรือใบมดลำแรกขึ้น แล้วได้ทรงทดสอบด้วยการนำไปแข่งขันทั้งในประเทศและต่างประเทศ ปรากฏว่าเรือใบแบบนั้นซึ่งต่อมาโปรดให้เรียกว่า “เรือมด 1” มีความคล่องตัวดี เหมาะสมกับการแข่งขันมาก จึงได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สโมสรกรมอู่ทหารเรือดำเนินการต่อเรือมดขึ้นอีก ซึ่งทำให้ช่างของกรมอู่ทหารเรือมีรายได้เพิ่มขึ้นจากงานประจำอีกด้วย รายได้จากการต่อเรือส่วนหนึ่งได้นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายผู้ออกแบบในฐานะมีกรรมสิทธิ์เป็นเจ้าของแบบ (หรือปัจจุบันอาจจะเรียกว่า เจ้าของสิทธิบัตร) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงเป็นผู้พัฒนาอุตสาหกรรมการต่อเรือ และเริ่มธุรกิจการต่อเรือในประเทศไทยด้วย ต่อมาได้ทรงปรับปรุงแบบเรือมดและได้ทรงออกแบบเรือใบชุดมดอีก 2 ประเภท คือ เรือซุปเปอร์มด และเรือไมโครมด ซึ่งเป็นเรือที่ได้รับความนิยมมากในหมู่สมาชิกแล่นใบชาวไทย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดำริให้หน่วยงานต่างๆ ทำการคิดค้นวิจัย พัฒนาและประดิษฐ์เครื่องจักรกลใช้พลังงานทดแทนขึ้น
สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย
๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๖*
เป็นที่น่าปีติยินดีเป็นล้นพ้นแก่ปวงพสกนิกรไทยทั้งมวล เมื่อเครื่องกลเติมอากาศ "กังหันน้ำชัยพัฒนา" ได้รับการพิจารณาและทูลเกล้าฯ ถวายสิทธิบัตรในพระปรมาภิไธย เมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๓๖ นับเป็นสิ่งประดิษฐ์เครื่องกลเติมอากาศเครื่องที่ ๙ ของโลกที่ได้รับสิทธิบัตรและเป็นครั้งแรกที่ได้มีการรับจดทะเบียนและออกสิทธิบัตรถวายแด่พระมหากษัตริย์ด้วย จึงนับได้ว่าสิทธิบัตรเครื่องกลเติมอากาศในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวนั้นเป็น "สิทธิบัตรในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์พระองค์แรกในประวัติศาสตร์ชาติไทยและเป็นครั้งแรกของโลก"ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติกำหนดให้วันที่ ๒ กุมภาพันธ์ของทุกปีเป็น "วันนักประดิษฐ์" เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติ ในโอกาสนี้ด้วย
วันที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๔**
จากพระราชดำริและพระวิริยะอุตสาหะในการที่จะหาพลังงานจากธรรมชาติมาทดแทนน้ำมันเชื้อเพลิงโดยทรงริเริ่มในเรื่องน้ำมันแก๊สโซฮอล์ น้ำมันดีโซฮอล์ และน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ จนเกิดโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม
บริสุทธิ์ขนาดเล็กขึ้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง จังหวัดนราธิวาส และได้มีการจดสิทธิบัตร โดยนายอำพล เสนาณรงค์
องคมนตรี เป็นผู้แทนพระองค์ยื่นจดสิทธิบัตร เมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๔๔ ณ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์
ในพระปรมาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ชื่อที่แสดงถึงการประดิษฐ์คือ
"การใช้น้ำมันปาล์มกลั่นบริสุทธิ์เป็นน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซล" สิทธิบัตรเลขที่ ๑๐๗๖๔
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติได้จัดส่งผลงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ไปร่วมแสดงในงานนิทรรศการสิ่งประดิษฐ์นานาชาติชื่องาน "Burssels Eureka 2001" ณ กรุงบรัสเซลล์ ประเทศเบลเยี่ยม ด้วยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในการประดิษฐ์คิดค้นของพระองค์ ส่งผลให้การคิดค้น ๓ ผลงาน คือ "ทฤษฎีใหม่" "โครงการฝนหลวง" และ "โครงการน้ำมันไบโอดีเซลสูตรสกัดจากน้ำมันปาล์ม" ได้รับเหรียญทองประกาศนียบัตรสดุดีเทิดพระเกียรติคุณพร้อมถ้วยรางวัล ผลงานของพระองค์ล้วนเป็นผลการคิดค้นแนวใหม่ในการพัฒนาประเทศนำมาซึ่งความปลาบปลื้มยินดีแก่ประชาชนชาวไทยถ้วนหน้า
- *ข้อมูลจาก หนังสือกังหันน้ำชัยพัฒนา เครื่องเติมอากาศที่ผิวน้ำแบบทุ่นลอย Chaipattana Low Speed Surface Aerator, Model RX-2 จัดทำโดย[มูลนิธิชัยพัฒนา]
- **ข้อมูลจาก หนังสือ ๘๐ พรรษา ปวงประชาสุขศานต์ จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ