ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาพพระราชกรณียกิจชุดที่ 1"

จาก WIKI84
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 9: บรรทัดที่ 9:
เป็นพระมิ่งขวัญแห่งแผ่นดินที่ปวงชนชาวไทยเทิดทูนไว้เหนือเกล้าเหนือกระหม่อมตลอดมา
เป็นพระมิ่งขวัญแห่งแผ่นดินที่ปวงชนชาวไทยเทิดทูนไว้เหนือเกล้าเหนือกระหม่อมตลอดมา
</center>
</center>
<center>
<center>
<div style="display:inline-table; width:90%">
{| width="800px" border="0"
<div id="col1" style="display:block; width:300px; float:left; clear:both">[[ภาพ:071009-พระราชกรณียกิจ-03.jpg|200px|center]]</div><div id="col2" style="width:5px; margin-top:20px"></div><div id="col1" style="display:block; float:left; text-align:left">xxxxxx</div>
|width="250px"|[[ภาพ:071009-พระราชกรณียกิจ-03.jpg|200px|center]]||align = "left" width="550px"|หลังจากทรงตอบรับคำกราบบังคมทูลเชิญจากรัฐบาลขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทรงศึกษาต่อที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์<br />เมื่อเสด็จนิวัตพระนคร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดการพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เมื่อวันที่ ๒๙ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ณ พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
<div id="col1" style="display:block; width:300px; float:left; clear:both">[[ภาพ:071009-พระราชกรณียกิจ-04.jpg|200px|center]]</div><div id="col2" style="width:5px; margin-top:20px"></div><div id="col1" style="display:block; float:left; text-align:left">yyyy</div>
|-
</div>
|[[ภาพ:071009-พระราชกรณียกิจ-04.jpg|200px|center]]||'''พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส'''
 
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ณ พระตำหนักสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า วังสระปทุม เมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๓ และได้สถาปนาพระอัครมเหสีเป็นสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์
|-
|[[ภาพ:071009-พระราชกรณียกิจ-05.jpg|200px|center]]||'''พระราชพิธีบรมราชาภิเษก'''
 
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ซึ่งเป็นพระราชพิธีที่สำคัญที่สุดของพระมหากษัตริย์ในการเสด็จขึ้นครองราชย์
เป็นเสมือนการประกาศความเป็นองค์พระประมุขของชาติอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง
และในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระปฐมบรมราชโองการว่า
 
'''“เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”'''
|-
|}
</center>
</center>


----
----

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:06, 7 ตุลาคม 2552

พระมหากษัตริย์ของปวงชนชาวไทย

นับจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติเป็นรัชกาลที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์

ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่เปี่ยมด้วยพระราชจริยวัตรอันงดงาม

เป็นพระมิ่งขวัญแห่งแผ่นดินที่ปวงชนชาวไทยเทิดทูนไว้เหนือเกล้าเหนือกระหม่อมตลอดมา

หลังจากทรงตอบรับคำกราบบังคมทูลเชิญจากรัฐบาลขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทรงศึกษาต่อที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
เมื่อเสด็จนิวัตพระนคร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดการพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เมื่อวันที่ ๒๙ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ณ พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง
พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ณ พระตำหนักสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า วังสระปทุม เมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๓ และได้สถาปนาพระอัครมเหสีเป็นสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์

มีข้อผิดพลาดในการสร้างรูปย่อ: การตั้งค่าไลบรารี GD ไม่สมบูรณ์: ไม่พบฟังก์ชัน imagecreatefromjpeg
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ซึ่งเป็นพระราชพิธีที่สำคัญที่สุดของพระมหากษัตริย์ในการเสด็จขึ้นครองราชย์ เป็นเสมือนการประกาศความเป็นองค์พระประมุขของชาติอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง และในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระปฐมบรมราชโองการว่า

“เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม”