ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศูนย์ศึกษาการพัฒนา"
จาก WIKI84
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
<div style="color:brown">'''ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ'''</div> | <div style="color:brown">'''ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ'''</div> | ||
<div style="display:table"> | |||
[[ภาพ:เขาหินซ้อน1.jpg|thumb|frame|left|พุทธศักราช ๒๕๒๒ ทรงจัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจากพระราชดำริเป็นแห่งแรก]]สืบเนื่องจากพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมุ่งหวังพัฒนาความเป็นอยู่ของราษฎรให้สามารถ ช่วยเหลือพึ่งตนเองได้ โดยวิธีการหนึ่งที่ทรงเห็นว่าการได้เรียนรู้ และพบเห็นด้วยประสบการณ์ของตนเองนั้น เป็นการสร้างการเรียนรู้ในการพัฒนาชนบท ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงพระราชทาน พระราชดำริให้มี ศูนย์ศึกษาการพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยทำหน้าที่เสมือน “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต” เพื่อเป็นศูนย์รวมของการศึกษา ค้นคว้าทดลอง วิจัย และแสวงหาแนวทางและวิธีการพัฒนาด้านต่างๆ ที่เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และการประกอบอาชีพของราษฎร ที่อาศัยอยู่ในภูมิประเทศนั้นๆ โดยเป็นแหล่งรวบรวมสรรพวิชาการ การค้นคว้า ทดลองและสาธิตทางด้านเกษตรกรรม เป็นระบบบริการเบ็ดเสร็จที่จุดเดียว (one stop services ) มีกิจกรรมด้านการศึกษาพัฒนาที่ต่อเนื่อง และขยายผลที่เป็นความสำเร็จสู่เกษตรกร และชุมชนในภูมิภาคนั้นอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา และยิ่งไปกว่านั้น ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ยังเป็น “ต้นแบบ” ของการบริหารที่เป็นการรวมศูนย์ โดยนำเอาส่วนราชการที่เกี่ยวข้องหลากหลายหน่วยงาน มารวมไว้ ณ ที่แห่งเดียวและร่วมกันดำเนินงาน โดยมิได้มีหน่วยงานใดเป็นเจ้าของ เพื่อเป็นจุดบริการเบ็ดเสร็จให้แก่เกษตรกร ในการที่เกษตรกรจะนำไปเป็นต้นแบบ และเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพที่เหมาะสม เพื่อชีวิตความเป็นอยู่ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ดังที่ได้มีพระราชดำรัสในเรื่องนี้ว่า | |||
</div> | |||
<div style="color:darkgreen"> “...เป็นศูนย์ฯ หรือเป็นที่แห่งหนึ่งที่รวมการศึกษา เพื่อดูว่าทำอย่างไร จะพัฒนาได้ผล...”</div> | <div class="kindent" style="color:darkgreen"> “...เป็นศูนย์ฯ หรือเป็นที่แห่งหนึ่งที่รวมการศึกษา เพื่อดูว่าทำอย่างไร จะพัฒนาได้ผล...”</div> | ||
<div class="kindent" style="color:darkgreen"> “...ศูนย์ศึกษาฯนี้เป็นคล้ายๆ พิพิธภัณฑธรรมชาติที่มีชีวิต ที่ใครๆ | |||
<div style="color:darkgreen"> “...ศูนย์ศึกษาฯนี้เป็นคล้ายๆ พิพิธภัณฑธรรมชาติที่มีชีวิต ที่ใครๆ | |||
จะมาดูว่าทำอะไรกัน...”</div> | จะมาดูว่าทำอะไรกัน...”</div> | ||
<div class="kindent" style="color:darkgreen"> “...ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ เป็นศูนย์ที่รวบรวมกำลังทั้งหมดของเจ้าหน้าที่ทุกกรมกอง ทั้งในด้านการเกษตรหรือในด้านสังคม ทั้งในด้านหางานการส่งเสริมการศึกษามาอยู่ด้วยกัน ก็หมายความว่าประชาชนซึ่งจะต้องการทั้งหลายก็สามารถที่จะมาดู ส่วนเจ้าหน้าที่จะให้ความอนุเคราะห์แก่ประชาชนก็มาอยู่พร้อมกันในที่เดียวกัน ซึ่งเป็นสองด้าน ก็หมายความถึงว่าสำคัญปลายทางคือ ประชาชนจะได้รับประโยชน์...”</div> | |||
<div class="kindent" style="color:darkgreen"> “...วัตถุประสงค์ของการตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาก็คือการพัฒนาที่ทำกินของราษฎรให้มีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น โดยการพัฒนาที่ดิน พัฒนาแหล่งน้ำ ตลอดจนฟื้นฟูป่า และใช้หลักวิชาการเกษตรในการวางแผนการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ โดยใช้เงินจากการบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธาเป็นทุนในการพัฒนา ซึ่งศูนย์ศึกษาการพัฒนาจะเป็นฟาร์มตัวอย่างที่เกษตรกรทั่วไป และเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาสามารถมาเยี่ยมชม ชมการสาธิตเกี่ยวกับการเกษตรกรรม เพื่อเป็นการศึกษาหาความรู้ นอกจากนั้น ยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการพัฒนาพื้นที่รอบๆ บริเวณโครงการให้มีความเจริญขึ้น เมื่อราษฎรเริ่มมีสภาพความเป็นอยู่ดีขึ้น ก็อาจพิจารณาจัดตั้งโรงสีข้าวสำหรับหมู่บ้านแต่ละกลุ่ม ตลอดจนจัดตั้งธนาคารข้าวของแต่ละหมู่บ้าน เพื่อฝึกให้รู้จักพึ่งตนเองได้ในที่สุด...”</div> | |||
<div class="kindent"> พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระราชดำริให้มี “ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ขึ้นตามภูมิภาคต่างๆทั่วประเทศ จำนวน 6 ศูนย์ ได้แก่ | |||
<div style="color:darkgreen"> “...ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ เป็นศูนย์ที่รวบรวมกำลังทั้งหมดของเจ้าหน้าที่ทุกกรมกอง ทั้งในด้านการเกษตรหรือในด้านสังคม ทั้งในด้านหางานการส่งเสริมการศึกษามาอยู่ด้วยกัน ก็หมายความว่าประชาชนซึ่งจะต้องการทั้งหลายก็สามารถที่จะมาดู ส่วนเจ้าหน้าที่จะให้ความอนุเคราะห์แก่ประชาชนก็มาอยู่พร้อมกันในที่เดียวกัน ซึ่งเป็นสองด้าน ก็หมายความถึงว่าสำคัญปลายทางคือ ประชาชนจะได้รับประโยชน์...”</div> | |||
<div style="color:darkgreen"> “...วัตถุประสงค์ของการตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาก็คือการพัฒนาที่ทำกินของราษฎรให้มีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น โดยการพัฒนาที่ดิน พัฒนาแหล่งน้ำ ตลอดจนฟื้นฟูป่า และใช้หลักวิชาการเกษตรในการวางแผนการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ โดยใช้เงินจากการบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธาเป็นทุนในการพัฒนา ซึ่งศูนย์ศึกษาการพัฒนาจะเป็นฟาร์มตัวอย่างที่เกษตรกรทั่วไป และเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาสามารถมาเยี่ยมชม ชมการสาธิตเกี่ยวกับการเกษตรกรรม เพื่อเป็นการศึกษาหาความรู้ นอกจากนั้น ยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการพัฒนาพื้นที่รอบๆ บริเวณโครงการให้มีความเจริญขึ้น เมื่อราษฎรเริ่มมีสภาพความเป็นอยู่ดีขึ้น ก็อาจพิจารณาจัดตั้งโรงสีข้าวสำหรับหมู่บ้านแต่ละกลุ่ม ตลอดจนจัดตั้งธนาคารข้าวของแต่ละหมู่บ้าน เพื่อฝึกให้รู้จักพึ่งตนเองได้ในที่สุด...”</div> | |||
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระราชดำริให้มี “ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ขึ้นตามภูมิภาคต่างๆทั่วประเทศ จำนวน 6 ศูนย์ ได้แก่ | |||
<ul> | <ul> | ||
บรรทัดที่ 47: | บรรทัดที่ 35: | ||
<br />ภารกิจหลัก คือ ศึกษา วิจัย และพัฒนาสภาพของดินที่มีปัญหา และใช้ประโยชน์ไม่ได้ ให้นำกลับมาใช้เป็นประโยชน์ทางด้านเกษตรกรรมได้อีก เช่น การพัฒนาดินอินทรีย์และดินที่เปรี้ยวจัด การใช้น้ำชะล้างกรดจากดิน การพัฒนาพื้นที่ป่าพรุ การอนุรักษ์และบำรุงพันธุ์ไม้ในป่าพรุ การทดลองด้านประมงและเลี้ยงสัตว์ ตลอดจนไม้ดอกไม้ประดับ เป็นต้น</ol> | <br />ภารกิจหลัก คือ ศึกษา วิจัย และพัฒนาสภาพของดินที่มีปัญหา และใช้ประโยชน์ไม่ได้ ให้นำกลับมาใช้เป็นประโยชน์ทางด้านเกษตรกรรมได้อีก เช่น การพัฒนาดินอินทรีย์และดินที่เปรี้ยวจัด การใช้น้ำชะล้างกรดจากดิน การพัฒนาพื้นที่ป่าพรุ การอนุรักษ์และบำรุงพันธุ์ไม้ในป่าพรุ การทดลองด้านประมงและเลี้ยงสัตว์ ตลอดจนไม้ดอกไม้ประดับ เป็นต้น</ol> | ||
</ul> | </ul></div> | ||
รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:59, 5 มีนาคม 2551
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
สืบเนื่องจากพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมุ่งหวังพัฒนาความเป็นอยู่ของราษฎรให้สามารถ ช่วยเหลือพึ่งตนเองได้ โดยวิธีการหนึ่งที่ทรงเห็นว่าการได้เรียนรู้ และพบเห็นด้วยประสบการณ์ของตนเองนั้น เป็นการสร้างการเรียนรู้ในการพัฒนาชนบท ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงพระราชทาน พระราชดำริให้มี ศูนย์ศึกษาการพัฒนา อันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยทำหน้าที่เสมือน “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต” เพื่อเป็นศูนย์รวมของการศึกษา ค้นคว้าทดลอง วิจัย และแสวงหาแนวทางและวิธีการพัฒนาด้านต่างๆ ที่เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และการประกอบอาชีพของราษฎร ที่อาศัยอยู่ในภูมิประเทศนั้นๆ โดยเป็นแหล่งรวบรวมสรรพวิชาการ การค้นคว้า ทดลองและสาธิตทางด้านเกษตรกรรม เป็นระบบบริการเบ็ดเสร็จที่จุดเดียว (one stop services ) มีกิจกรรมด้านการศึกษาพัฒนาที่ต่อเนื่อง และขยายผลที่เป็นความสำเร็จสู่เกษตรกร และชุมชนในภูมิภาคนั้นอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา และยิ่งไปกว่านั้น ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ยังเป็น “ต้นแบบ” ของการบริหารที่เป็นการรวมศูนย์ โดยนำเอาส่วนราชการที่เกี่ยวข้องหลากหลายหน่วยงาน มารวมไว้ ณ ที่แห่งเดียวและร่วมกันดำเนินงาน โดยมิได้มีหน่วยงานใดเป็นเจ้าของ เพื่อเป็นจุดบริการเบ็ดเสร็จให้แก่เกษตรกร ในการที่เกษตรกรจะนำไปเป็นต้นแบบ และเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพที่เหมาะสม เพื่อชีวิตความเป็นอยู่ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ดังที่ได้มีพระราชดำรัสในเรื่องนี้ว่า
“...เป็นศูนย์ฯ หรือเป็นที่แห่งหนึ่งที่รวมการศึกษา เพื่อดูว่าทำอย่างไร จะพัฒนาได้ผล...”
“...ศูนย์ศึกษาฯนี้เป็นคล้ายๆ พิพิธภัณฑธรรมชาติที่มีชีวิต ที่ใครๆ
จะมาดูว่าทำอะไรกัน...”
“...ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ เป็นศูนย์ที่รวบรวมกำลังทั้งหมดของเจ้าหน้าที่ทุกกรมกอง ทั้งในด้านการเกษตรหรือในด้านสังคม ทั้งในด้านหางานการส่งเสริมการศึกษามาอยู่ด้วยกัน ก็หมายความว่าประชาชนซึ่งจะต้องการทั้งหลายก็สามารถที่จะมาดู ส่วนเจ้าหน้าที่จะให้ความอนุเคราะห์แก่ประชาชนก็มาอยู่พร้อมกันในที่เดียวกัน ซึ่งเป็นสองด้าน ก็หมายความถึงว่าสำคัญปลายทางคือ ประชาชนจะได้รับประโยชน์...”
“...วัตถุประสงค์ของการตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาก็คือการพัฒนาที่ทำกินของราษฎรให้มีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น โดยการพัฒนาที่ดิน พัฒนาแหล่งน้ำ ตลอดจนฟื้นฟูป่า และใช้หลักวิชาการเกษตรในการวางแผนการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ โดยใช้เงินจากการบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธาเป็นทุนในการพัฒนา ซึ่งศูนย์ศึกษาการพัฒนาจะเป็นฟาร์มตัวอย่างที่เกษตรกรทั่วไป และเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาสามารถมาเยี่ยมชม ชมการสาธิตเกี่ยวกับการเกษตรกรรม เพื่อเป็นการศึกษาหาความรู้ นอกจากนั้น ยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการพัฒนาพื้นที่รอบๆ บริเวณโครงการให้มีความเจริญขึ้น เมื่อราษฎรเริ่มมีสภาพความเป็นอยู่ดีขึ้น ก็อาจพิจารณาจัดตั้งโรงสีข้าวสำหรับหมู่บ้านแต่ละกลุ่ม ตลอดจนจัดตั้งธนาคารข้าวของแต่ละหมู่บ้าน เพื่อฝึกให้รู้จักพึ่งตนเองได้ในที่สุด...”
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระราชดำริให้มี “ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ขึ้นตามภูมิภาคต่างๆทั่วประเทศ จำนวน 6 ศูนย์ ได้แก่
- 1.ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
มีภารกิจหลักในด้านการปรับปรุงและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ เช่น การปรับปรุงบำรุงดิน การปลูกป่าไม้ และการพัฒนาปศุสัตว์ การจัดตั้งธนาคารโค - กระบือ การส่งเสริมด้านการประมง การพัฒนาด้านไม้ดอกไม้ผล และการจัดการด้านสหกรณ์ เป็นต้น
- 2.ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี
ดำเนินกิจกรรมด้านค้นคว้า ทดลอง วิจัย และสาธิตการพัฒนาและอนุรักษ์สภาพ แวดล้อมชายฝั่ง การบำบัดน้ำเสียจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดำ การอนุรักษ์และรวบรวมพันธุ์ไม้ป่าชายเลน การวิจัยและทดสอบระบบการเกษตรผสมผสาน การส่งเสริมความรู้ในเรื่องการสหกรณ์ การอบรมด้าน ปศุสัตว์ เป็นต้น
- 3.ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
เน้นการพัฒนาเป็นศูนย์ศึกษาการพัฒนาด้านป่าไม้เอนกประสงค์ จัดให้ราษฎรที่ทำกินอยู่เดิมได้มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาป่าไม้ มุ่งฟื้นฟูสภาพป่าที่เสื่อมโทรม และสร้างแนวป้องกันไฟป่าโดยใช้ระบบป่าเปียก ศึกษาหาวิธีการให้เกษตรกรเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สภาพป่า พร้อมกับมีรายได้จากป่า และปลูกพืชชนิดต่างๆควบคู่กันไป
- 4. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
ภารกิจหลัก คือ การพัฒนาระบบชลประทาน พัฒนาระบบการปลูกพืชเศรษฐกิจ การทดสอบพันธุ์ข้าวไร่ การศึกษาระบบนิเวศวิทยาของป่า การปรับปรุงบำรุงดิน และการพัฒนาส่งเสริมด้านปศุสัตว์และประมง
- 5. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่
เน้นการดำเนินการศึกษาค้นคว้า ทดลอง เพื่อแสวงหารูปแบบในการพัฒนาพื้นที่บริเวณต้นน้ำลำธารของภาคเหนือ เพื่อเป็นต้นแบบ ในการพัฒนาลุ่มน้ำอื่นๆในภูมิภาค โดยใช้ระบบชลประทานเข้าเสริม การปลูกไม้ 3 อย่าง เพื่อให้ก่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และเน้นเรื่องการพัฒนาป่าไม้พื้นที่ต้นน้ำลำธารให้สมบูรณ์เป็นหลัก และให้ปลายทางเป็นการศึกษาด้านประมงตามอ่างเก็บน้ำ
- 6. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลกะลุวอเหนือ จังหวัดนราธิวาส
ภารกิจหลัก คือ ศึกษา วิจัย และพัฒนาสภาพของดินที่มีปัญหา และใช้ประโยชน์ไม่ได้ ให้นำกลับมาใช้เป็นประโยชน์ทางด้านเกษตรกรรมได้อีก เช่น การพัฒนาดินอินทรีย์และดินที่เปรี้ยวจัด การใช้น้ำชะล้างกรดจากดิน การพัฒนาพื้นที่ป่าพรุ การอนุรักษ์และบำรุงพันธุ์ไม้ในป่าพรุ การทดลองด้านประมงและเลี้ยงสัตว์ ตลอดจนไม้ดอกไม้ประดับ เป็นต้น
**ข้อมูลจาก หนังสือ ๘๐ ทศวรรษแห่งการพัฒนา จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ