ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศ-เศรษฐกิจพอเพียง-ทางเลือกในการพัฒนา"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
|||
บรรทัดที่ 15: | บรรทัดที่ 15: | ||
กล่าวได้ว่า การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลากว่าเกือบครึ่งศตวรรษนี้ ได้สร้างความเจริญทางวัตถุอย่างมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งถือเป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาประเทศ อย่างไรก็ตาม ภายใต้กระบวนการพัฒนาที่ขาดสมดุลและขาดการพิจารณาปัญหาอย่างเป็นองค์รวม ทำให้การพัฒนาในส่วนอื่นไม่สามารถก้าวทันความเจริญทางวัตถุ เช่น การศึกษา การพัฒนาระบบประชาธิปไตย การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นต้น อันเป็นที่มาของบทสรุปของการพัฒนาที่ว่า '''“เศรษฐกิจดี สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ยั่งยืน”'''</div> | กล่าวได้ว่า การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลากว่าเกือบครึ่งศตวรรษนี้ ได้สร้างความเจริญทางวัตถุอย่างมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งถือเป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาประเทศ อย่างไรก็ตาม ภายใต้กระบวนการพัฒนาที่ขาดสมดุลและขาดการพิจารณาปัญหาอย่างเป็นองค์รวม ทำให้การพัฒนาในส่วนอื่นไม่สามารถก้าวทันความเจริญทางวัตถุ เช่น การศึกษา การพัฒนาระบบประชาธิปไตย การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นต้น อันเป็นที่มาของบทสรุปของการพัฒนาที่ว่า '''“เศรษฐกิจดี สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ยั่งยืน”'''</div> | ||
=='''1. เศรษฐกิจพอเพียง : แนวพระราชดำริ และหลักการที่สำคัญ'''== | =='''1. เศรษฐกิจพอเพียง : แนวพระราชดำริ และหลักการที่สำคัญ'''== | ||
บรรทัดที่ 48: | บรรทัดที่ 49: | ||
</div> | </div> | ||
'''2. เศรษฐกิจพอเพียง : การประยุกต์ใช้''' | |||
<div class="kindent">เนื่องจาก “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดำริชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ชุมชน จนกระทั่ง | |||
การพัฒนาประเทศ ครอบคลุมทุกภาคส่วน ดังนั้น ไม่ว่าผู้ใดก็สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ โดยต้องยึดหลักการดังนี้ | |||
<u>ในระดับปัจเจกบุคคล</u> แต่ละบุคคลจะต้องมีสติในการดำรงชีวิต ตระหนักถึงความสุขและความพอใจในการใช้ชีวิตอย่างพอดี คือ ดำเนินชีวิตอย่างสมถะ ประกอบสัมมาอาชีพหาเลี้ยงตนเอง และครอบครัว | |||
อย่างพอมีพอกิน โดยไม่เบียดเบียนเอาเปรียบผู้อื่น และแบ่งปันส่วนที่เหลือไปยังสมาชิกอื่น ๆ ในชุมชน | |||
<u>ในระดับชุมชน</u> จะต้องมีการพึ่งพาอาศัยกันในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ รวมไปถึงการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในระดับชุมชน พัฒนากระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน สามารถนำเทคโนโลยีมาพัฒนาชุมชนได้อย่างเหมาะสม โดยยึดหลักความประหยัดและเรียบง่าย สามารถทำได้เองหาได้ในท้องถิ่น รู้จักประยุกต์ใช้ในสิ่งที่มีอยู่ในภูมิภาคนั้น ๆ มาแก้ไขปัญหา โดยไม่ต้องลงทุนหรือใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากนัก | |||
<u>ในระดับประเทศ</u> จะต้องสร้างกระบวนการพัฒนาที่เป็นองค์รวม เพื่อความสมดุลโดยจะต้องพิจารณาในส่วนของทุนทางสังคม ทุนทางเศรษฐกิจ และทุนทางทรัพยากร ในการส่งเสริมการค้าการผลิตจะต้องมีการพิจารณาศักยภาพภายในประเทศว่า ควรจะต้องส่งเสริมการผลิตสินค้าชนิดใด โดยจะต้อง | |||
ผลิตให้ได้พอเพียงกับความต้องการภายในประเทศเสียก่อน แล้วค่อยส่งไปขายต่างประเทศ ในการบริหารจัดการควรให้เกิดความเสี่ยงต่ำ คือไม่ลงทุนจนเกินตัว เพราะจะส่งผลให้เกิดการก่อหนี้จนเกินขีดความ | |||
สามารถในการจัดการ จะต้องมีการวางแผนอย่างรอบคอบ มุ่งพัฒนาทุนทางสังคม เช่น ระบบการศึกษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการสร้างนวัตกรรม และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับ | |||
ประเทศ โดยคำนึงถึงความประหยัดและเรียบง่าย ทั้งนี้เพื่อลดการพึ่งพาทางเศรษฐกิจและนำเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศ ดังพระบรมราโชวาทตอนหนึ่งว่า</div> | |||
<div class="kgreen">“…ในการสร้างสรรค์ต่าง ๆ เพื่อพัฒนาสภาพบ้านเมืองและฐานะความเป็นอยู่ของประชาชนต่อไป ควรหัดเป็นคนช่างสังเกตในการปฏิบัติงานของตนเอง นอกจากเทคโนโลยีที่ใหญ่โตระดับ | |||
สูงสำหรับใช้ในงานใหญ่ ๆ ที่ต้องการผลมาก แต่ละคนควรจะคำนึงและคิดค้นเทคโนโลยีอย่างง่าย ๆ ควบคู่กันไป เพื่อช่วยให้กิจการที่ใช้ทุนรอนน้อยมีโอกาสนำใช้ได้สะดวกและได้ผลด้วย…”</div> | |||
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]] | [[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:07, 13 พฤษภาคม 2551
สิงหาคม 2547
ความนำ : ทิศทางการพัฒนาประเทศก่อนเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ
ในการเร่งรัดให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ไทยได้เปิดประเทศไปสู่ระบบการค้าเสรีและกลไกของตลาดโลกมีการเคลื่อนย้ายทุนเข้า-ออกประเทศเป็นจำนวนมหาศาล ทั้งในรูปแบบของการลงทุนระยะยาว เช่น การลงทุนในภาคอุตสาหกรรมการผลิตต่าง ๆ และการลงทุนระยะสั้น เช่น การลงทุนในตลาดหุ้น การซื้อขายอสังหาริมทรัพย์และเปลี่ยนมือในระยะสั้นโดยปั่นราคาให้สูงขึ้นเพื่อทำกำไร ในขณะเดียวกันการบังคับใช้กฎระเบียบทางการเงิน การคลังของประเทศก็ผ่อนคลายลงไปมาก เพื่อสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุน โดยในช่วงเวลาปลายแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 จนถึงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 นี้เองที่เป็นช่วง เศรษฐกิจฟองสบู่เกิดขึ้นเต็มรูปแบบ
ในช่วงปี 2539 ประเทศไทยประสบปัญหาการส่งออกชะลอตัว ส่งผลให้มีการประกาศลอยตัวค่าเงินบาทในเวลาต่อมา จนเกิดสภาพฟองสบู่แตก และกลายเป็นวิกฤตเศรษฐกิจในช่วงปี 2540 ในระหว่างนั้นค่าเงินบาทตกลงถึงร้อยละ 40 ทำให้ประเทศไทยต้องแบกรับหนี้สาธารณะที่เพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณถึงประมาณ 3.8 ล้านล้านบาท จากการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศในช่วงเวลาที่เศรษฐกิจขยายตัว จากภาระหนี้สินจำนวนมหาศาลนี้เอง ทำให้ไทยต้องทำข้อตกลง กับกองทุนฟื้นฟูระหว่างประเทศหรือไอเอ็มเอฟเข้ามาปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจใหม่ ซึ่งหมายความรวมถึงการถูกจำกัดอิสรภาพในการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจและการเงินของประเทศหลายประการ
กล่าวได้ว่า การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลากว่าเกือบครึ่งศตวรรษนี้ ได้สร้างความเจริญทางวัตถุอย่างมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งถือเป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาประเทศ อย่างไรก็ตาม ภายใต้กระบวนการพัฒนาที่ขาดสมดุลและขาดการพิจารณาปัญหาอย่างเป็นองค์รวม ทำให้การพัฒนาในส่วนอื่นไม่สามารถก้าวทันความเจริญทางวัตถุ เช่น การศึกษา การพัฒนาระบบประชาธิปไตย การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นต้น อันเป็นที่มาของบทสรุปของการพัฒนาที่ว่า “เศรษฐกิจดี สังคมมีปัญหา การพัฒนาไม่ยั่งยืน”
1. เศรษฐกิจพอเพียง : แนวพระราชดำริ และหลักการที่สำคัญ
(พระราชดำรัส เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2540)
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน “ทางสายกลาง” โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำเอาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
จากข้างต้น จะเห็นได้ว่า มีหลักการสำคัญอยู่ 3 ประการคือ
1) ทางสายกลาง
2) ความพอเพียง พอประมาณ และมีเหตุผล
3) การมีระบบภูมิคุ้มกันที่ดี
2. เศรษฐกิจพอเพียง : การประยุกต์ใช้
การพัฒนาประเทศ ครอบคลุมทุกภาคส่วน ดังนั้น ไม่ว่าผู้ใดก็สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ โดยต้องยึดหลักการดังนี้
ในระดับปัจเจกบุคคล แต่ละบุคคลจะต้องมีสติในการดำรงชีวิต ตระหนักถึงความสุขและความพอใจในการใช้ชีวิตอย่างพอดี คือ ดำเนินชีวิตอย่างสมถะ ประกอบสัมมาอาชีพหาเลี้ยงตนเอง และครอบครัว อย่างพอมีพอกิน โดยไม่เบียดเบียนเอาเปรียบผู้อื่น และแบ่งปันส่วนที่เหลือไปยังสมาชิกอื่น ๆ ในชุมชน
ในระดับชุมชน จะต้องมีการพึ่งพาอาศัยกันในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ รวมไปถึงการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในระดับชุมชน พัฒนากระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน สามารถนำเทคโนโลยีมาพัฒนาชุมชนได้อย่างเหมาะสม โดยยึดหลักความประหยัดและเรียบง่าย สามารถทำได้เองหาได้ในท้องถิ่น รู้จักประยุกต์ใช้ในสิ่งที่มีอยู่ในภูมิภาคนั้น ๆ มาแก้ไขปัญหา โดยไม่ต้องลงทุนหรือใช้เทคโนโลยีที่ยุ่งยากนัก
ในระดับประเทศ จะต้องสร้างกระบวนการพัฒนาที่เป็นองค์รวม เพื่อความสมดุลโดยจะต้องพิจารณาในส่วนของทุนทางสังคม ทุนทางเศรษฐกิจ และทุนทางทรัพยากร ในการส่งเสริมการค้าการผลิตจะต้องมีการพิจารณาศักยภาพภายในประเทศว่า ควรจะต้องส่งเสริมการผลิตสินค้าชนิดใด โดยจะต้อง ผลิตให้ได้พอเพียงกับความต้องการภายในประเทศเสียก่อน แล้วค่อยส่งไปขายต่างประเทศ ในการบริหารจัดการควรให้เกิดความเสี่ยงต่ำ คือไม่ลงทุนจนเกินตัว เพราะจะส่งผลให้เกิดการก่อหนี้จนเกินขีดความ สามารถในการจัดการ จะต้องมีการวางแผนอย่างรอบคอบ มุ่งพัฒนาทุนทางสังคม เช่น ระบบการศึกษา ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการสร้างนวัตกรรม และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับ
ประเทศ โดยคำนึงถึงความประหยัดและเรียบง่าย ทั้งนี้เพื่อลดการพึ่งพาทางเศรษฐกิจและนำเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศ ดังพระบรมราโชวาทตอนหนึ่งว่า