ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมวดหมู่:ศูนย์ศึกษาการพัฒนา"

จาก WIKI84
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
ข้อมูลศูนย์ศึกษาการพัฒนา
<h3>ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ</h3>
<div class="kindent">เมื่อโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริขยายออกไปมากมายนับร้อยพันโครงการ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริให้ก่อตั้ง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพื่อเป็นศูนย์รวมการศึกษาค้นคว้า ทดลอง วิจัย เพื่อแสวงหาแนวทางและวิธีการพัฒนาด้านต่างๆ ที่เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและการประกอบอาชีพของราษฎรที่อาศัยอยู่ในแต่ละภูมิภาค ทรงเลือกพื้นที่จัดตั้งศูนย์ด้วยพระองค์เองเพื่อให้เป็นตัวแทนในแต่ละภูมิภาค โดยมีภารกิจหลัก คือ พัฒนาด้านเกษตรกรรม ฟื้นฟู และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและศึกษาค้นคว้าวิจัยทดลองพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริเป็นเสมือน “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต” ให้ราษฎรที่อาศัยอยู่ในแต่ละท้องที่นั้นๆ ได้ศึกษาเรียนรู้ รวมถึงเป็น “ต้นแบบ” การบริหารที่เป็นการรวมศูนย์ นั่นก็คือ การนำเอาส่วนราชการที่เกี่ยวข้องหลากหลายหน่วยงานมารวมไว้ ณ ที่แห่งเดียว ในลักษณะระบบบริการ “เบ็ดเสร็จ” ที่จุดเดียว และร่วมกันดำเนินงานโดยไม่มีหน่วยงานใดเป็นเจ้าของ เพื่อให้เกษตรกรนำไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพที่เหมาะสม พัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น และอำนวยประโยชน์สูงสุดแก่ราษฎร
</div>


[[หมวดหมู่:โครงการ]][[หมวดหมู่:การพัฒนา]]
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]][[หมวดหมู่:โครงการ]][[หมวดหมู่:การพัฒนา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:35, 29 กันยายน 2552

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

เมื่อโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริขยายออกไปมากมายนับร้อยพันโครงการ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริให้ก่อตั้ง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพื่อเป็นศูนย์รวมการศึกษาค้นคว้า ทดลอง วิจัย เพื่อแสวงหาแนวทางและวิธีการพัฒนาด้านต่างๆ ที่เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและการประกอบอาชีพของราษฎรที่อาศัยอยู่ในแต่ละภูมิภาค ทรงเลือกพื้นที่จัดตั้งศูนย์ด้วยพระองค์เองเพื่อให้เป็นตัวแทนในแต่ละภูมิภาค โดยมีภารกิจหลัก คือ พัฒนาด้านเกษตรกรรม ฟื้นฟู และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและศึกษาค้นคว้าวิจัยทดลองพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริเป็นเสมือน “พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต” ให้ราษฎรที่อาศัยอยู่ในแต่ละท้องที่นั้นๆ ได้ศึกษาเรียนรู้ รวมถึงเป็น “ต้นแบบ” การบริหารที่เป็นการรวมศูนย์ นั่นก็คือ การนำเอาส่วนราชการที่เกี่ยวข้องหลากหลายหน่วยงานมารวมไว้ ณ ที่แห่งเดียว ในลักษณะระบบบริการ “เบ็ดเสร็จ” ที่จุดเดียว และร่วมกันดำเนินงานโดยไม่มีหน่วยงานใดเป็นเจ้าของ เพื่อให้เกษตรกรนำไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพที่เหมาะสม พัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น และอำนวยประโยชน์สูงสุดแก่ราษฎร