ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาพพระราชกรณียกิจชุดที่ 2"

จาก WIKI84
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 26: บรรทัดที่ 26:
พระบรมวงศ์ องคมนตรี หรือบุคคลอื่นเป็นผู้แทนพระองค์ไปถวาย
พระบรมวงศ์ องคมนตรี หรือบุคคลอื่นเป็นผู้แทนพระองค์ไปถวาย
|-
|-
|[[ภาพ:071009-พระราชกรณียกิจ-06.jpg|200px|center]]||'''พระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียร'''
|[[ภาพ:071009-พระราชกรณียกิจ2-05.jpg|200px|center]]||แม้ว่าประเทศไทย จะมีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนับสนุนและทรงอุปถัมภ์การเผยแพร่คำสั่งสอนของศาสนาหลักอื่นๆ ที่ประชาชนในประเทศไทยมีความศรัทธานับถือด้วย เช่น
 
พระราชทานพระคัมภีร์อัลกุรอ่านฉบับคำแปลภาษาไทย แก่ผู้แทนคณะกรรมการอิสลามจังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๓
เป็นพระราชพิธีต่อเนื่องจากพระราชพิธีบรมราชาภิเษก มีนัยว่าหมายถึงการเสด็จพระราชดำเนินมาประทับในพระราชมณเฑียร ในพระบรมมหาราชวังตามแบบอย่างโบราณราชประเพณี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ตั้งการพระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียรในวันที่ ๖ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓
ณ พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง
|-
|-
|[[ภาพ:071009-พระราชกรณียกิจ-07.jpg|200px|center]]||'''พระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่'''
|[[ภาพ:071009-พระราชกรณียกิจ2-06.jpg|200px|center]]||ศาสนาคริสต์ ซึ่งได้เผยแผ่เข้ามาในราชอาณาจักรไทยตั้งแต่สมัยอยุธยา ก็มีความสัมพันธ์อันดีเช่นกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้สมเด็จพระสันตปาปา จอห์น ปอล ที่ ๒ แห่งนครรัฐวาติกัน พระประมุขแห่งคริสตศาสนานิกายโรมันคาทอลิก เข้าเฝ้าในโอกาสเสด็จเยือนประเทศไทย ระหว่างวันที่ ๑๐ - ๑๑ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔
 
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ เนื่องในการประสูติของพระราชโอรสและพระราชธิดาทั้ง ๔ พระองค์ ตามขัตติยราชประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาเพื่อเป็นสิริมงคลแก่พระราชโอรสและพระราชธิดา
 
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี ที่ ๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๔ ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธี ฉลองประสูติมงคลขึ้นในวันที่ ๗ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๔ ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย ในพระบรมมหาราชวัง
 
สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ บรมจักรยาดิศรสันตติวงศ เทเวศรธำรงสุบริบาล อภิคุณูประการมหิตลาดุลเดชภูมิพลนเรศวรางกูร กิตติสิริสมบูรณสวางควัฒน์ บรมขัตติยราชกุมาร ประสูติเมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๙๕ เมื่อทรงเจริญพระชันษาได้ ๑ เดือน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ ในระหว่างวันที่ ๑๔ - ๑๕ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๙๕ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต
 
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ ประสูติเมื่อวันที่ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๘ เมื่อทรงเจริญพระชันษาได้ ๑ เดือน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ ในระหว่างวันที่ ๑๕ - ๑๖ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๘ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต
 
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสูติเมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐ เมื่อทรงเจริญพระชันษาได้ ๑ เดือน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ ในระหว่างวันที่ ๒๒ - ๒๓ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต
|-
|-
|[[ภาพ:071009-พระราชกรณียกิจ-08.jpg|200px|center]]||'''พระราชพิธีทรงพระผนวช'''
|[[ภาพ:071009-พระราชกรณียกิจ2-07.jpg|200px|center]]||'''พระราชพิธีพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดีและพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒนสัตยา'''<br />
 
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดีขึ้นเมื่อพุทธศักราช ๒๔๖๑ เพื่อพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบแก่ข้าราชการทหารที่เสียสละเพื่อชาติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพุทธมามกะที่มีพระราชศรัทธาต่อพระพุทธศาสนาอย่างยิ่ง มีพระราชประสงค์ที่จะทรงพระผนวชตามโบราณราชประเพณี โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม
การพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี ครั้งที่ ๔ ในรัชกาลที่ ๙ เมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๒
ให้จัดพระราชพิธีทรงพระผนวชในวันที่ ๒๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๙ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง


ในระหว่างทรงดำรงสมณเพศเป็นระยะเวลา ๑๕ วัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงพระผนวชประทับที่พระตำหนักปั้นหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร ทรงปฏิบัติพระราชกิจเช่นเดียวกับภิกษุทั่วไป เช่น เสด็จลงพระอุโบสถ ทรงทำวัตรเช้า - เย็น และเสด็จพระราชดำเนินไปทรงรับบิณฑบาตจากประชาชน ก่อนทรงลาสิกขาในวันที่ ๕ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๙๙
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ฟื้นฟูพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒนสัตยา ซึ่งได้ปฏิบัติสืบต่อกันมาตั้งแต่แผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอู่ทองแห่งกรุงศรีอยุธยา
และได้ว่างเว้นไปนับแต่เปลี่ยนแปลงการปกครอง พุทธศักราช ๒๔๗๕ โดยโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ผนวกเข้ากับพระราชพิธีพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี พระราชพิธีที่จัดขึ้นในคราวนั้น คือวันที่ ๒๔ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๑๒ เป็นการเสกน้ำ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ส่วนวันที่ ๒๕ มีนาคม ปีเดียวกัน หลังจากพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวังแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปยังพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดีถวายคำสัตย์สาบาน ต่อหน้าพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรว่าจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต หลังจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงดื่มน้ำพระพิพัฒนสัตยาแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี ดื่มจนครบทุกคน
|-
|-
|}
|}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:06, 7 ตุลาคม 2552

ทรงเป็นหลักชัยไทยทั่วหล้า

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นประมุขของชาติ
ทรงให้ความสำคัญต่อกิจการของบ้านเมืองในทุกๆ ด้าน
ทั้งด้านการศาสนา การเมืองการปกครอง การทหาร ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
เพื่อสร้างความเป็นปึกแผ่นมั่นคงให้แก่ประเทศชาติ

พระราชพิธีด้านศาสนา
เมื่อพุทธศักราช ๒๕๐๐ รัฐบาลได้จัดงานฉลองกึ่งพุทธศตวรรษขึ้น โดยมีการจัดขบวนเรือพระราชพิธีอัญเชิญพระพุทธรูป พระไตรปิฎก และพระสงฆ์ แห่ไปตามลำน้ำเจ้าพระยา เมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐ เป็นการเฉลิมฉลองและระลึกในพระไตรรัตนาธิคุณ มีเรือเข้าร่วมขบวนไม่ครบถ้วน

เนื่องจากเรือพระราชพิธีได้ชำรุดเสียหายไปตามสภาพและถูกทำลายจากภาวะสงครามมหาเอเชียบูรพา ต่อมาในพุทธศักราช ๒๕๐๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้จัดขบวนพยุหยาตราทางชลมารคขึ้น สำหรับเสด็จพระราชดำเนินไปทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดอรุณราชวราราม ตามราชประเพณีที่เคยมีมา เพื่อรักษามรดกทางวัฒนธรรมของชาติให้คงอยู่สืบไป


เมื่อแรกสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สร้างเสาชิงช้าและเทวสถานโบสถ์พราหมณ์เพื่อประกอบพิธีทางศาสนาพราหมณ์ตามโบราณราชประเพณี โดยให้มีพิธีโล้ชิงช้าในพระราชพิธีตรียัมพวาย-ตรีปวาย ในเดือนยี่ของทุกปี พิธีโล้ชิงช้าได้ยกเลิกไปเมื่อพุทธศักราช ๒๔๗๕

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ฟื้นฟูพระราชพิธีตรียัมพวาย-ตรีปวาย โดยให้คงไว้เฉพาะส่วนพระราชพิธีในวันแรม ๑ - ๖ ค่ำ เดือนยี่ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้พระราชครูพราหมณ์เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับพระราชทานเจิมเทวรูปก่อนเชิญไปทำพิธีที่ เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ เมื่อเสร็จพิธี พราหมณ์เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายอุลุบ และเครื่องพิธี เช่น ข้าวตอก ผลไม้ ขนมหวานต่างๆ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ในพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐิน มีพระอารามหลวงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐินเป็นประจำทุกปี ๑๖ แห่ง ทั้งที่อยู่ในกรุงเทพมหานครและส่วนภูมิภาค ได้แก่ วัดสุทัศนเทพวราราม วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ วัดอรุณราชวราราม วัดพระปฐมเจดีย์(จังหวัดนครปฐม) วัดบวรนิเวศวิหาร วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม วัดราชโอรสาราม วัดนิเวศธรรมประวัติ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)วัดสุวรรณดาราราม (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ (จังหวัดพิษณุโลก)วัดมกุฎกษัตริยาราม วัดราชาธิวาส และวัดเทพศิรินทราวาส

โดยจะเสด็จพระราชดำเนินไปถวายผ้าพระกฐิน ๒ - ๓ แห่ง ประมาณ ๓ วัน ส่วนพระอารามหลวงที่เหลือ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ พระบรมวงศ์ องคมนตรี หรือบุคคลอื่นเป็นผู้แทนพระองค์ไปถวาย

แม้ว่าประเทศไทย จะมีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนับสนุนและทรงอุปถัมภ์การเผยแพร่คำสั่งสอนของศาสนาหลักอื่นๆ ที่ประชาชนในประเทศไทยมีความศรัทธานับถือด้วย เช่น

พระราชทานพระคัมภีร์อัลกุรอ่านฉบับคำแปลภาษาไทย แก่ผู้แทนคณะกรรมการอิสลามจังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ ๑๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๓

ศาสนาคริสต์ ซึ่งได้เผยแผ่เข้ามาในราชอาณาจักรไทยตั้งแต่สมัยอยุธยา ก็มีความสัมพันธ์อันดีเช่นกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้สมเด็จพระสันตปาปา จอห์น ปอล ที่ ๒ แห่งนครรัฐวาติกัน พระประมุขแห่งคริสตศาสนานิกายโรมันคาทอลิก เข้าเฝ้าในโอกาสเสด็จเยือนประเทศไทย ระหว่างวันที่ ๑๐ - ๑๑ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๒๔
พระราชพิธีพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดีและพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒนสัตยา

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดีขึ้นเมื่อพุทธศักราช ๒๔๖๑ เพื่อพระราชทานเป็นบำเหน็จความชอบแก่ข้าราชการทหารที่เสียสละเพื่อชาติ การพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี ครั้งที่ ๔ ในรัชกาลที่ ๙ เมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๒

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ฟื้นฟูพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒนสัตยา ซึ่งได้ปฏิบัติสืบต่อกันมาตั้งแต่แผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอู่ทองแห่งกรุงศรีอยุธยา และได้ว่างเว้นไปนับแต่เปลี่ยนแปลงการปกครอง พุทธศักราช ๒๔๗๕ โดยโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ผนวกเข้ากับพระราชพิธีพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี พระราชพิธีที่จัดขึ้นในคราวนั้น คือวันที่ ๒๔ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๑๒ เป็นการเสกน้ำ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ส่วนวันที่ ๒๕ มีนาคม ปีเดียวกัน หลังจากพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวังแล้ว เสด็จพระราชดำเนินไปยังพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดีถวายคำสัตย์สาบาน ต่อหน้าพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรว่าจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต หลังจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงดื่มน้ำพระพิพัฒนสัตยาแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี ดื่มจนครบทุกคน