ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เธซเธ™เน‰เธฒเธซเธฅเธฑเธ"

จาก WIKI84
(Created page with 'test ทดสอบ')
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
__NOTOC__
<div id="bg_g1t">&nbsp;</div>
<div style="display:inline-table; clear:both;float:left">
<div id="bg_g1">
<div style="display:table; float:left">
<h1>พุทธศักราช ๒๕๑๐ : ทรงชนะเลิศการแข่งขันเรือใบในกีฬาแหลมทอง</h1>
{{แม่แบบ:8ทศวรรษ}}</div>
<div style="display:table;width:630px; float:left; padding-left:5px"><h1>ทศวรรษที่ ๕ กษัตริย์ผู้ทรงงานหนักในการสร้างรากฐานการพัฒนา "คน" (พ.ศ. ๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)</h1>


<div class="kgreen" style="font-size:120%" align="center">...การปิดทองหลังพระนั้น เมื่อถึงคราวจำเป็นก็ต้องปิด<br />ว่าที่จริงแล้วคนโดยมากไม่ค่อยชอบปิดทองหลังพระกันนัก เพราะนึกว่าไม่มีใครเห็น<br />แต่ถ้าทุกคนพากันปิดทองแต่ข้างหน้า ไม่มีใครปิดทองหลังพระเลย พระจะเป็นพระที่งามบริบูรณ์ไม่ได้...
<div style="display:table">
</div>
<div style="display:table; width:65%; float:left">
<div style="font-size:90%; text-align:right">
ทรงเป็นตัวแทนประเทศไทยลงแข่งขันเรือใบในกีฬาแหลมทองครั้งที่ ๔ ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ พระองค์ทรงชนะเสิศเหรียญทองการแข่งขันเรือใบประเภทโอเค
พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />
เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๐๖
</div>


[[ภาพ:การกีฬา.jpg|300px|รับการทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญรางวัลเหรียญทองจากสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ|center]]


=== ===
<div id="century">
<div id="lcentury">
<gallery>
Image:การกีฬา5.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๐<br /> ทรงเรือใบไมโครมด ซึ่งออกแบบด้วยพระองค์เอง
Image:การกีฬา6.jpg|
</gallery>
</div>
<div id="rcentury">'''พระมหากษัตริย์ "นักกีฬา"'''


<div class="kindent">พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นตัวแทน<br />ประเทศไทย ลงแข่งขันเรือใบในกีฬาแหลมทองครั้งที่ ๔ <br />ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ พระองค์ทรงชนะเลิศเหรียญ<br />ทองการแข่งขันเรือใบประเภทโอเค</div>


<div class="kindent">สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทูลเกล้าฯ<br />ถวายเหรียญทอง แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ<br />สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา ในการแข่ง<br />เรือใบ ประเภทเรือโอเค เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๑๐ <br />สนามกีฬาแห่งชาติ</div>
“เรือใบซูเปอร์มด” เป็นเรือใบมดที่ทรงปรับปรุงแบบใหม่ ทรงออกแบบตัวเรือยาว 11 ฟุตเท่าเรือมด แต่ความกว้างเพิ่มขึ้น คือกว้าง 4 ฟุต 11 นิ้ว ท้องแบน น้ำหนักประมาณ 34 กิโลกรัม เนื้อที่ใบโตเท่าเดิม การทรงตัวดี ความเร็วมีมากขึ้น ตัวเรือคงทนแข็งแรง สู้คลื่นลมได้ดี และมีความปลอดภัยสูง เรือใบซูเปอร์มดนี้ใช้แข่งขันกีฬานานาชาติเป็นครั้งแรกในกีฬาแหลมทองครั้งที่ 4 ประเทศไทย เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.2510
</div>
</div>
<div style="display:table; border: 1px solid #8B9946; width:30%; padding:5px 3px; float:right">
[[ภาพ:การกีฬา2.jpg|150px|ทรงประดิษฐ์ด้วยความละเอียดถี่ถ้วน|center]]<br>พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประดิษฐ์เรือใบ อย่างถูกต้องตามหลักการสากล โดยทรงศึกษาแบบแปลนข้อบังคับ ของเรือแต่ละประเภทจากตำราต่าง ๆ ทั่วโลก ทรงประดิษฐ์ด้วยความละเอียดถี่ถ้วน ชนิดที่เรียกว่า “วัดเป็นมิลลิเมตร”
</div>
</div>
=== ===
<div id="century">
<div id="lcentury">
<gallery>
Image:ทศ5-13.jpg|พุทธศํกราช ๒๕๑๖<br /> เสด็จฯ ไปทรงเปิดโรงเรียน ร่มเกล้าแห่งแรก เมื่อวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๑๖
Image:ทศ5-12.jpg|เมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๒๑<br /> เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรกิจการ และพระราชทานอุปกรณ์การ เรียนแก่นักเรียน โรงเรียน ร่มเกล้า บ้านบูเก๊ะกอตอ อำเภอ ยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
</gallery>
</div>
</div>
<div id="rcentury">'''จุดกำเนิดโรงเรียนร่มเกล้า'''
<div style="clear:both" class="kindent">ในโอกาสที่ประเทศไทยได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 9-16 ธันวาคม 2510 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสมัครเข้ารับการคัดเลือกเป็นนักกีฬาทีมชาติไทย ในกีฬาเรือใบอย่างถูกต้องตามขั้นตอนเช่นเดียวกับนักกีฬาคนอื่นทั่วไป และด้วยพระปรีชาสามารถทรงได้รับการคัดเลือกเป็นนักกีฬาเรือใบทีมชาติไทย ฉลองพระองค์ชุดวอร์มและเบลเซอร์ และทรงได้รับเบี้ยเลี้ยงในฐานะนักกีฬา ทรงเข้าค่ายฝึกซ้อมตามโปรแกรมการฝึกซ้อมเช่นเดียวกับนักกีฬาคนอื่นๆ พระองค์ทรงชนะเลิศการแข่งขันเรือใบประเภทโอเค และทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญรางวัลเหรียญทองจากสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2510 ซึ่งเป็นวันพิธีฯปิดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 4 ณ สนามศุภชลาศัย สนามกีฬากรีฑาสถาน ท่ามกลางความปลื้มปีติของพสกนิกรปวงชนชาวไทยทั่วประเทศและเป็นที่ประจักษ์แก่ชนทั่วโลก</div>
==='''ทรงต่อเรื่อประเภท "มด"'''===


<div class="kindent">เมื่อเดือนมีนาคม ๒๕๑๕ ได้เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยม<br />หน่วยทหารที่ปฏิบัติการอยู่ ณ ภูพานน้อย อำเภอนาแก<br /> จังหวัดนครพนม และมีพระราชประสงค์จะให้หน่วยทหาร<br />กองทัพภาคที่ ๒ ได้มีโอกาสช่วยเหลือประชาชนในด้านการ<br />ศึกษาตามโอกาสอันควร โดยเป็นผู้ก่อสร้างโรงเรียนขึ้น<br />โดยที่พระองค์จะทรงสนับสนุนวัสดุในการก่อสร้างให้เป็น<br />บางส่วนซึ่งเป็น '''"จุดกำเนิดของโรงเรียนร่มเกล้า"'''</div>
ทรงต่อเรือประเภท มด(Moth Class) ๓ ลำ ลำแรกพระราชทานชื่อว่า มด ลำที่สองชื่อ ซุปเปอร์มด และลำที่สามชื่อ ไมโครมด และได้ทรงจดทะเบียนระดับนานาชาติในประเภท Moth Class ที่ประเทศอังกฤษ


<div class="kindent">ทรงริเริ่มโรงเรียนร่มเกล้าแห่งแรกที่บ้านหนอง<br />แคน ตำบลดงหลวง จังหวัดนครพนม ซึ่งเป็นพื้นที่สีแดง <br />เข้มที่มีผู้มีอุดมการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างกับรัฐบาลมา<br />รวมกลุ่มกันในขณะนั้น (เป็นทางผ่านของผู้ก่อการร้าย<br />คอมมิวนิสต์ใช้ขึ้นลงจากเทือกเขาภูพาน) <br />โดยได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพรองค์ ก่อสร้าง<br />อาคารเรียนถาวรหลังแรก</div>
</div>
</div>
=== ===


<gallery>
<gallery>
Image:การกีฬา4.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๐<br /> ขณะทรงเรือไมโครมด<br />[[กีฬา|ดูข้อมูลเกี่ยวข้อง]]
Image:การกีฬา4.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๐ ขณะทรงเรือไมโครมด
Image:การกีฬา3.jpg|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉลองพระองค์ด้วยชุดวอร์มนักกีฬาเรือใบ
Image:การกีฬา3.jpg|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉลองพระองค์ด้วยชุดวอร์มนักกีฬาเรือใบ
Image:ทศ5-01.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๐ <br />พิธีวางกระดูกงูเรือ ต.๙๑ ณ กรมอู่ทหารเรือ กรุงเทพฯ
Image:การกีฬา5.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๐ ทรงเรือใบไมโครมด ซึ่งออกแบบด้วยพระองค์เอง
Image:ทศ5-02.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๑ <br />ทรงปลูกต้นมะม่วงแก้วในบริเวร โครงการพัฒนาที่ดินตาม พระราชประสงค์ ดอนขุนห้วย ร่วมกับสมาชิกโครงการฯ
Image:การกีฬา6.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๐ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญทอง แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา ในการแข่งเรือใบ ประเภทเรือโอเค เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๑๐ สนามกีฬาแห่งชาติ
Image:ทศ5-03.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๑<br />คณะกรรมการโครงการ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับพระราชทานกระแสพระราช ดำริ ในการนี้ได้พระราชทาน พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อดำเนินการจัดพิมพ์ สารานุกรมไทยสำหรับ เยาวชนจำหน่ายในราคาถูก เกื้อกูล ด้าน[[การศึกษา]]
Image:ทศ5-04.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๒<br /> ทรงตั้งโครงการหลวงและ เสด็จฯ ไปทอดพระเนตร ติดตามความก้าวหน้าอย่าง ต่อเนื่อง โดยเมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๑๔ บ้านแม่โถ อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่<br />[[ยาเสพติด|ดูข้อมูลเกี่ยวข้อง]]
Image:ทศ5-05.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๓ <br />ทรงตั้งโครงการพัฒนาที่ดิน ตามพระราชประสงค์ หนองพลับ อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี และเสด็จฯ ไปทอดพระเนตร ความก้าวหน้า อีกหลายครั้ง
Image:ทศ5-06.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๓ <br />พระราชทานคัมภีร์อัลกุรอาน และคำแปลในภาษาไทย<br />[[องค์อัครศาสนูปถัมภก|ดูข้อมูลเกี่ยวข้อง]]
Image:ทศ5-07.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๓ <br />พระราชทานรถให้หน่วย ทันตแพทย์เคลื่อนที่<br />[[การแพทย์|ดูข้อมูลเกี่ยวข้อง]]
Image:ทศ5-08.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๔ <br />มีพระราชดำรัสให้ออกแบบและ สร้างสายอากาศ เพื่อการใช้ งานเครื่องวิทยุสื่อสาร<br />[[การสื่อสาร|ดูข้อมูลเกี่ยวข้อง]]
Image:ทศ5-09.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๔ <br />เสด็จฯ ไปโรงสีข้าว สวนจิตรลดา กรุงเทพฯ[[ข้าว|ดูข้อมูลเกี่ยวข้อง]]
Image:ทศ5-10.jpg|ภาพโรงสีข้าวตัวอย่างใน โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา
Image:ทศ5-11.jpg|เมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๑๙ เสด็จฯ ไปทอดพระ เนตรความ ก้าวหน้าการก่อ สร้างอาคาร เรียนที่อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
Image:ทศ5-14.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๖<br /> มีพระราชปกิสันถารอย่างใกล้ ชิดกับราษฎรที่มาเฝ้าฯ รับ เสด็จบริเวณกองพัน ทหารราบ ที่ ๒๓ อำเภอปัว จังหวัดน่าน
Image:ทศ5-15.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๖<br /> มีพระราชปกิสันถารอย่างใกล้ ชิดกับราษฎรที่มาเฝ้าฯ รับ เสด็จบริเวณกองพัน ทหารราบ ที่ ๒๓ อำเภอปัว จังหวัดน่าน
Image:ทศ5-16.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๖<br /> เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมผู้หนี เหตุการณ์ จลาจล เข้ามาภายใน สวนจิตรลดา กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖
Image:ทศ5-17.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๖ <br />เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎรภาคใต้
Image:ทศ5-18.jpg|
Image:ทศ5-19.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๗ <br />พระราชทานพระราชดำริให้ ก่อสร้างโครงการฝายทดน้ำ บ้านหนองหอย อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งปัจจุบันสามารถใช้ประโยชน์ ได้เป็นอย่างดี<br />[[การแก้ไขปัญหาน้ำแล้ง|ดูข้อมูลเกี่ยวข้อง]]
Image:ทศ5-20.jpg|พุทธศํกราช ๒๕๑๖ <br />เสด็จฯ ไปยังโครงการ พรุบาเจาะ-ไม้แก่น
Image:ทศ5-21.jpg|เมื่อวันที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๑๗<br /> เสด็จฯ ไปบ้านปาดังยอ ตำบล มูโนะ อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส เพื่อทอดพระเนตรความก้าวหน้า โครงการชลประทานมูโนะ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
Image:ทศ5-22.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๗ <br />เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรกิจการ โรงงานหลวงอาหารสำเร็จรูป แม่จัน
Image:ทศ5-23.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๘ <br />พระราชทานพระราชดำริ ให้สร้างแหล่งน้ำ เพื่อต่อสู้กับความ หิวโหย
Image:ทศ5-24.jpg|
Image:ทศ5-25.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๘<br />เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมผู้เสียสละ ชีพ เพื่อชาติจากการป้องกัน ประเทศชาติ
Image:ทศ5-26.jpg|
Image:ทศ5-27.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๘ <br />พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถ และสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ไปทรงเยี่ยมผู้ได้รับ บาดเจ็บ จากการปฏิบัติหน้าที่ ป้องกันประเทศชาติ โดย[http://www.saijaithai.or.th/ มูลนิธิ สายใจไทยในพระบรม ราชูปถัมภ์] เข้าไปให้การ ช่วยเหลือ
Image:ทศ5-28.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๘ <br />หนังสือพิมพ์บ้านเมืองฉบับวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๑๘
Image:ทศ5-29.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๘ <br />ทอดพระเนตรยุทโธปกรณ์ที่ยึด ได้จากผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์
Image:ทศ5-30.jpg|ทอดพระเนตรที่พักอาศัยของ เจ้าหน้าที่ฐานปฏิบัติการ หมวดสนับสนุนทางอากาศ ตชด. บ้านโต๊ะโมะ จังหวัดนราธิวาส
Image:ทศ5-31.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๘ <br />ทรงเยี่ยมสมาชิกนิคมสร้าง ตนเองพัฒนาภาคใต้ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
Image:ทศ5-32.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๙ <br />ทรงริเริ่มโรงเรียนพระดาบส และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นักเรียนทุนหลวงพระดาบส เข้าเฝ้าฯ เพื่อรับพระบรม ราโชวาท
Image:ทศ5-33.jpg|กิจกรรมที่สอน ในโรงเรียนพระดาบส
Image:ทศ5-34.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๙<br /> เสด็จฯ ไปยังกองพันพิเศษ ค่ายสฤษดิ์เสนา จังหวัดพิษณุโลก
Image:ทศ5-35.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๙<br />ทอดพระเนตรการดำเนินโครง การฯ บริเวณบ้านเผ่าไทย ตำบลชมพู อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก
Image:ทศ5-36.jpg|
</gallery>
</gallery>


</div>
เรือใบฝีพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จำแนกตามประเภท
{| width="600px" border="1"
|align = "center" width="200px"|ประเภทเรือใบ||align = "center" width="200px"|พุทธศักราชที่ทรงประดิษฐ์||align = "center" width="200px"|หมายเหตุ
|-
|เรือใบประเภทเอนเตอร์ไพรส์<br />(International Enterprise Class)  ||align = "center"|พุทธศักราช ๒๕๐๗||ทรงต่อเรือใบ “ราชปะแตน”เมื่อวันที่ ๗ ธันวาคมต่อมาได้ทรงสร้างเรือเพิ่มขึ้นอีก ๑ ลำพระราชทานนามว่า “เรือเอจี”
|-
|เรือใบประเภทโอเค<br />(International OK Class)  ||align = "center"|พุทธศักราช ๒๕๐๘||เรือใบโอเคลำแรกพระราชทานนามว่า “นวฤกษ์” ลำต่อๆ มา ได้พระราชทานนามว่า “เรือเวคา ๑” “เรือเวคา ๒” และ “เรือเวคา ๓” เป็นต้น
|-
|เรือใบประเภทม็อธ<br />(International Moth Class)  ||align = "center"|พุทธศักราช ๒๕๐๙ - ๒๕๑๐๗||พระราชทานนามเรือใบสกุลใหม่ว่า“เรือมด เรือซูเปอร์มด และเรือไมโครมด” โดยทรงใช้ผงไฟเบอร์ยามที่ทรงต่อเรือเมื่อโดนแล้วทำให้ทรงคัน จึงพระราชทานนามว่า “มด”
|-
|}
'''ที่มา:''' หออัครศิลปิน สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ


<div style="clear:both;padding-top:30px">
----
----
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.4}}
<nowiki>**</nowiki>{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.}}
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]]
 
</div>
</div>
[[หมวดหมู่:๘ ทศวรรษแห่งการพัฒนา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 05:17, 22 ตุลาคม 2552

 

พุทธศักราช ๒๕๑๐ : ทรงชนะเลิศการแข่งขันเรือใบในกีฬาแหลมทอง

ทรงเป็นตัวแทนประเทศไทยลงแข่งขันเรือใบในกีฬาแหลมทองครั้งที่ ๔ ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ พระองค์ทรงชนะเสิศเหรียญทองการแข่งขันเรือใบประเภทโอเค

รับการทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญรางวัลเหรียญทองจากสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ
รับการทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญรางวัลเหรียญทองจากสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ


“เรือใบซูเปอร์มด” เป็นเรือใบมดที่ทรงปรับปรุงแบบใหม่ ทรงออกแบบตัวเรือยาว 11 ฟุตเท่าเรือมด แต่ความกว้างเพิ่มขึ้น คือกว้าง 4 ฟุต 11 นิ้ว ท้องแบน น้ำหนักประมาณ 34 กิโลกรัม เนื้อที่ใบโตเท่าเดิม การทรงตัวดี ความเร็วมีมากขึ้น ตัวเรือคงทนแข็งแรง สู้คลื่นลมได้ดี และมีความปลอดภัยสูง เรือใบซูเปอร์มดนี้ใช้แข่งขันกีฬานานาชาติเป็นครั้งแรกในกีฬาแหลมทองครั้งที่ 4 ณ ประเทศไทย เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.2510

ทรงประดิษฐ์ด้วยความละเอียดถี่ถ้วน
ทรงประดิษฐ์ด้วยความละเอียดถี่ถ้วน

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประดิษฐ์เรือใบ อย่างถูกต้องตามหลักการสากล โดยทรงศึกษาแบบแปลนข้อบังคับ ของเรือแต่ละประเภทจากตำราต่าง ๆ ทั่วโลก ทรงประดิษฐ์ด้วยความละเอียดถี่ถ้วน ชนิดที่เรียกว่า “วัดเป็นมิลลิเมตร”
ในโอกาสที่ประเทศไทยได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 9-16 ธันวาคม 2510 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสมัครเข้ารับการคัดเลือกเป็นนักกีฬาทีมชาติไทย ในกีฬาเรือใบอย่างถูกต้องตามขั้นตอนเช่นเดียวกับนักกีฬาคนอื่นทั่วไป และด้วยพระปรีชาสามารถทรงได้รับการคัดเลือกเป็นนักกีฬาเรือใบทีมชาติไทย ฉลองพระองค์ชุดวอร์มและเบลเซอร์ และทรงได้รับเบี้ยเลี้ยงในฐานะนักกีฬา ทรงเข้าค่ายฝึกซ้อมตามโปรแกรมการฝึกซ้อมเช่นเดียวกับนักกีฬาคนอื่นๆ พระองค์ทรงชนะเลิศการแข่งขันเรือใบประเภทโอเค และทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญรางวัลเหรียญทองจากสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2510 ซึ่งเป็นวันพิธีฯปิดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ครั้งที่ 4 ณ สนามศุภชลาศัย สนามกีฬากรีฑาสถาน ท่ามกลางความปลื้มปีติของพสกนิกรปวงชนชาวไทยทั่วประเทศและเป็นที่ประจักษ์แก่ชนทั่วโลก

ทรงต่อเรื่อประเภท "มด"

ทรงต่อเรือประเภท มด(Moth Class) ๓ ลำ ลำแรกพระราชทานชื่อว่า มด ลำที่สองชื่อ ซุปเปอร์มด และลำที่สามชื่อ ไมโครมด และได้ทรงจดทะเบียนระดับนานาชาติในประเภท Moth Class ที่ประเทศอังกฤษ


เรือใบฝีพระหัตถ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จำแนกตามประเภท

ประเภทเรือใบ พุทธศักราชที่ทรงประดิษฐ์ หมายเหตุ
เรือใบประเภทเอนเตอร์ไพรส์
(International Enterprise Class)
พุทธศักราช ๒๕๐๗ ทรงต่อเรือใบ “ราชปะแตน”เมื่อวันที่ ๗ ธันวาคมต่อมาได้ทรงสร้างเรือเพิ่มขึ้นอีก ๑ ลำพระราชทานนามว่า “เรือเอจี”
เรือใบประเภทโอเค
(International OK Class)
พุทธศักราช ๒๕๐๘ เรือใบโอเคลำแรกพระราชทานนามว่า “นวฤกษ์” ลำต่อๆ มา ได้พระราชทานนามว่า “เรือเวคา ๑” “เรือเวคา ๒” และ “เรือเวคา ๓” เป็นต้น
เรือใบประเภทม็อธ
(International Moth Class)
พุทธศักราช ๒๕๐๙ - ๒๕๑๐๗ พระราชทานนามเรือใบสกุลใหม่ว่า“เรือมด เรือซูเปอร์มด และเรือไมโครมด” โดยทรงใช้ผงไฟเบอร์ยามที่ทรงต่อเรือเมื่อโดนแล้วทำให้ทรงคัน จึงพระราชทานนามว่า “มด”

ที่มา: หออัครศิลปิน สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ


**ข้อมูลจาก หนังสือ ๘๐ ทศวรรษแห่งการพัฒนา จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ