ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเกียรติคุณปรากฏในนานาอารยประเทศ"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 6: | บรรทัดที่ 6: | ||
<div class="kindent">การปฏิบัติพระราชกรณียกิจในด้านต่างๆ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยามดังพระราชปณิธานที่ทรงประกาศไว้เป็นปฐมบรมราชโองการนั้น ไม่เพียงแต่เป็นที่ประจักษ์ชัดในดวงใจอาณาประชาราษฎร์ภายในประเทศเท่านั้น แต่ยังได้รับการยกย่องสรรเสริญจากองค์กรระหว่างประเทศและสถาบันต่างๆ โดยทรงได้รับรางวัลเฉลิมพระเกียรติมากกว่า ๔๐ รางวัล ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากสถาบันการศึกษาชั้นนำทั้งในประเทศและต่างประเทศเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในด้านต่างๆ อีกจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นรางวัลเฉลิมพระเกียรติด้านการแพทย์และการสาธารณสุข รองลงมาตามลำดับ คือ การพัฒนาคุณภาพชีวิต เทคโนโลยีการประดิษฐ์ และสิ่งแวดล้อม แสดงถึงคุณูปการจากพระราชกรณียกิจที่ทรงบำเพ็ญเพื่อประโยชน์สุขแก่พสกนิกร | <div class="kindent">การปฏิบัติพระราชกรณียกิจในด้านต่างๆ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยามดังพระราชปณิธานที่ทรงประกาศไว้เป็นปฐมบรมราชโองการนั้น ไม่เพียงแต่เป็นที่ประจักษ์ชัดในดวงใจอาณาประชาราษฎร์ภายในประเทศเท่านั้น แต่ยังได้รับการยกย่องสรรเสริญจากองค์กรระหว่างประเทศและสถาบันต่างๆ โดยทรงได้รับรางวัลเฉลิมพระเกียรติมากกว่า ๔๐ รางวัล ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากสถาบันการศึกษาชั้นนำทั้งในประเทศและต่างประเทศเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในด้านต่างๆ อีกจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นรางวัลเฉลิมพระเกียรติด้านการแพทย์และการสาธารณสุข รองลงมาตามลำดับ คือ การพัฒนาคุณภาพชีวิต เทคโนโลยีการประดิษฐ์ และสิ่งแวดล้อม แสดงถึงคุณูปการจากพระราชกรณียกิจที่ทรงบำเพ็ญเพื่อประโยชน์สุขแก่พสกนิกร | ||
<div style="clear:both"></div> | <div style="clear:both"></div> | ||
[[ภาพ:051009-การต่างประเทศ-05.jpg|left|200px]]รางวัลที่โดดเด่นที่สุดคือ รางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์ (Human Development Lifetime Achievement Award) ของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Programme: UNDP) เป็นรางวัลแรกขององค์กรเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนชาวไทยและการที่พระราชทานแนวทางให้ประชาชน สามารถพึ่งตนเองได้อย่างเข้มแข็งและยั่งยืน โดยนายโคฟี อันนัน เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ เป็นผู้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๙ | |||
[[ภาพ:051009-การต่างประเทศ-05.jpg|left|200px]]<div class="kindent">รางวัลที่โดดเด่นที่สุดคือ [[รางวัลฯ-โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ|รางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์ (Human Development Lifetime Achievement Award) ของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Programme: UNDP)]] เป็นรางวัลแรกขององค์กรเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนชาวไทยและการที่พระราชทานแนวทางให้ประชาชน สามารถพึ่งตนเองได้อย่างเข้มแข็งและยั่งยืน โดยนายโคฟี อันนัน เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ เป็นผู้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๙ </div> | |||
<div style="clear:both"></div> | <div style="clear:both"></div> | ||
รางวัลและคำสดุดีเฉลิมพระเกียรติที่สถาบันทั้งหลายได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว นับเป็นประจักษ์พยานสำคัญได้อย่างดีถึงพระปรีชาสามารถในพระองค์ อันเป็นสิ่งที่ประชาชนชาวไทยปลาบปลื้มปีติเป็นอย่างยิ่ง และที่เหนือยิ่งกว่าสิ่งอื่นใด พระปรีชาสามารถดังกล่าวยังเป็นที่ยอมรับด้วยใจของประชาคมโลกทั้งมวลที่มีความตระหนักในพระราชอุตสาหะ พระอัจฉริยภาพ และพระปรีชาสามารถ ซึ่งล้วนเป็นที่เล่าขานชื่นชมกันในหมู่นานาชาติอยู่เสมอ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นพระมหากษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ของประเทศไทย และเป็นพระราชาที่ยิ่งใหญ่ในสายตาและความรู้สึกของชาวต่างประเทศด้วย | รางวัลและคำสดุดีเฉลิมพระเกียรติที่สถาบันทั้งหลายได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว นับเป็นประจักษ์พยานสำคัญได้อย่างดีถึงพระปรีชาสามารถในพระองค์ อันเป็นสิ่งที่ประชาชนชาวไทยปลาบปลื้มปีติเป็นอย่างยิ่ง และที่เหนือยิ่งกว่าสิ่งอื่นใด พระปรีชาสามารถดังกล่าวยังเป็นที่ยอมรับด้วยใจของประชาคมโลกทั้งมวลที่มีความตระหนักในพระราชอุตสาหะ พระอัจฉริยภาพ และพระปรีชาสามารถ ซึ่งล้วนเป็นที่เล่าขานชื่นชมกันในหมู่นานาชาติอยู่เสมอ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นพระมหากษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ของประเทศไทย และเป็นพระราชาที่ยิ่งใหญ่ในสายตาและความรู้สึกของชาวต่างประเทศด้วย | ||
บรรทัดที่ 26: | บรรทัดที่ 27: | ||
{{ดูเพิ่มเติม|[[:หมวดหมู่:ประมวลคำประกาศสดุดีพระเกียรติคุณ]] / [[รางวัลฯ-โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ]]}} | |||
[[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]][[หมวดหมู่:ด้านการต่างประเทศ]] | [[หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ]][[หมวดหมู่:ด้านการต่างประเทศ]] | ||
</div> | </div> |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 08:54, 5 ตุลาคม 2552
พระเกียรติคุณปรากฏในนานาอารยประเทศ (พุทธศักราช ๒๕๔๐ - ๒๕๔๙)
นานาประเทศแซ่ซ้องพระเกียรติคุณ
รางวัลและคำสดุดีเฉลิมพระเกียรติที่สถาบันทั้งหลายได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว นับเป็นประจักษ์พยานสำคัญได้อย่างดีถึงพระปรีชาสามารถในพระองค์ อันเป็นสิ่งที่ประชาชนชาวไทยปลาบปลื้มปีติเป็นอย่างยิ่ง และที่เหนือยิ่งกว่าสิ่งอื่นใด พระปรีชาสามารถดังกล่าวยังเป็นที่ยอมรับด้วยใจของประชาคมโลกทั้งมวลที่มีความตระหนักในพระราชอุตสาหะ พระอัจฉริยภาพ และพระปรีชาสามารถ ซึ่งล้วนเป็นที่เล่าขานชื่นชมกันในหมู่นานาชาติอยู่เสมอ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นพระมหากษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ของประเทศไทย และเป็นพระราชาที่ยิ่งใหญ่ในสายตาและความรู้สึกของชาวต่างประเทศด้วย
พุทธศักราช ๒๕๔๙ ประเทศไทยเป็นที่จับตามองของประชาคมโลก เมื่อมีพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอย่างยิ่งใหญ่ เป็นวาระที่เกิดเหตุการณ์สำคัญมากมายที่ล้วนแต่เป็นเหตุการณ์สำคัญเพียงหนึ่งเดียวของชาติไทยและของโลก ทั้งปรากฏการณ์เสื้อเหลืองของมหาชนที่พร้อมใจกันแสดงพลังแห่งความจงรักภักดี รวมถึงการเสด็จพระราชดำเนินและเสด็จมาร่วมถวายพระพรชัยมงคลของสมเด็จพระราชาธิบดี สมเด็จพระราชินี และพระบรมวงศานุวงศ์จาก ๒๕ ราชวงศ์ทั่วโลก โดยสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนการาบรูไน ดารุสซาลาม ในฐานะทรงเป็นผู้แทนพระประมุขและพระราชวงศ์ต่างประเทศได้กราบบังคมทูลถวายพระพรชัยมงคลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซึ่งแสดงถึงการยอมรับในพระบารมีของพระประมุขของประเทศไทย ดังพระราชดำรัสตอนหนึ่งว่า
แต่หม่อมฉัน ตลอดจนองค์พระประมุขและพระราชอาคันตุกะทุกพระองค์ที่มีไมตรีจิตพรั่งพร้อมกันมาร่วมงานในวันนี้ ขอถวายพระราชสมัญญาที่เรียบง่ายแต่มีค่าและสะท้อนถึงความรู้สึกของหม่อมฉันและทุกพระองค์ ณ ที่นี้คือ ฝ่าพระบาททรงเป็นมิตรที่รักและพึงเคารพอย่างที่สุดของพวกเรา..."
พระราชดำรัสของสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนการาบรูไนดารุสซาลาม เนื่องในโอกาสงานถวายพระกระยาหารค่ำแด่พระประมุขและพระราชวงศ์ต่างประเทศ วันที่ ๑๓ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๔๙ ณ พระที่นั่งบรมราชสถิตมโหฬาร ในหมู่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท