ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่1"

จาก WIKI84
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 43 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
<div style="display:inline-table; clear:both;float:left">
<div style="display:inline-table;width:850px;clear:both;float:left">
<div style="display:table; float:left">
<div style="display:table; float:left">
{{แม่แบบ:8ทศวรรษ}}</div>
{{แม่แบบ:8ทศวรรษ}}</div>
<div style="display:table;float:left; padding-left:5px">
<div style="display:table;width:700px; float:left; padding-left:25px">
'''ทศวรรษที่ ๑ พระราชสมภพ (พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)'''
<h1>ทศวรรษที่ ๑ พระราชสมภพ (พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)</h1>


<div class="kgreen" style="font-size:110%">ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐานของความดีทุกอย่าง เด็กๆ จึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิดมีขึ้นในตนเอง เพื่อจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอาด ที่เจริญมั่นคง..
<div class="kgreen" style="font-size:120%" align="center">ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐานของความดีทุกอย่าง เด็กๆ จึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิดมีขึ้นในตนเอง<br /> เพื่อจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอาด ที่เจริญมั่นคง..
</div>
</div>


<div style="font-size:70%; padding-left:50%">
 
<div style="font-size:90%; text-align:right">
พระบรมราโชวาทพระราชทานเพื่อเชิญลงพิมพ์ในหนังสือวันเด็ก พุทธศักราช ๒๕๓๑</div>
พระบรมราโชวาทพระราชทานเพื่อเชิญลงพิมพ์ในหนังสือวันเด็ก พุทธศักราช ๒๕๓๑</div>


<gallery>
<gallery>
บรรทัดที่ 19: บรรทัดที่ 21:
Image:ทศ1-06.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๒ วังสระปทุม กรุงเทพฯ
Image:ทศ1-06.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๒ วังสระปทุม กรุงเทพฯ
Image:ทศ1-07.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๔ ทั้งสามพระองค์เตรียมตัว ไปโรงเรียน
Image:ทศ1-07.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๔ ทั้งสามพระองค์เตรียมตัว ไปโรงเรียน
Image:ทศ1-08.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๖ ภาพถ่ายที่ร้านเพื่อทำหนังสือเดินทาง กรุงเทพฯ
Image:ทศ1-08.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๖ ภาพถ่ายที่ร้านเพื่อทำหนังสือ เดินทาง กรุงเทพฯ
Image:ทศ1-09.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๑ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
Image:ทศ1-09.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๑ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
Image:ทศ1-10.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๑ ถ่ายรูปที่ร้านเดอยอง โลซานน์
Image:ทศ1-10.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๑ ถ่ายรูปที่ร้านเดอยอง โลซานน์
บรรทัดที่ 27: บรรทัดที่ 29:
Image:ทศ1-14.jpg|ดูนกก่อนที่จะปล่อย
Image:ทศ1-14.jpg|ดูนกก่อนที่จะปล่อย
Image:ทศ1-15.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๓ ทรงชุดลูกเสือปัตตานี กรุงเทพฯ
Image:ทศ1-15.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๓ ทรงชุดลูกเสือปัตตานี กรุงเทพฯ
Image:ทศ1-16.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๔ ชั้นเด็กเล็ก ในโรงเรียนอนุบาลของมิสซิสเดวีส (Mrs.Davies) กรุงเทพฯ
Image:ทศ1-16.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๔ ชั้นเด็กเล็ก ในโรงเรียนอนุบาลของมิสซิส เดวีส (Mrs.Davies) กรุงเทพฯ
Image:ทศ1-17.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๕ ทรงชุดละครไทย ซึ่งสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าประทานให้
Image:ทศ1-17.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๕ ทรงชุดละครไทย ซึ่งสมเด็จพระพันวัสสา อัยยิกาเจ้าประทานให้
Image:ทศ1-18.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๖ โรงเรียนเมียร์มองต์ (Miremont) โลซานน์
Image:ทศ1-18.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๖ โรงเรียนเมียร์มองต์ (Miremont) โลซานน์
Image:ทศ1-19.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๖ สำราญพระอิริยาบถ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด
Image:ทศ1-19.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๖ สำราญพระอิริยาบถ ณ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
Image:ทศ1-20.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗ รัฐบาลกราบบังคมทูลเชิญ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นสืบราชมสมบัติ ครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๘ แห่งบรมราชวงศ์ รูปถ่ายที่ร้าน ขณะประทับอยู่โลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
Image:ทศ1-20.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗ รัฐบาลกราบบังคมทูลเชิญ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นสืบราชมสมบัติ ครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๘ แห่งบรมราชวงศ์ รูปถ่ายที่ร้าน ขณะประทับอยู่โลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
Image:ทศ1-21.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๘ พระอนุชาเมื่อเข้าศึกษา ชั้นมัธยมที่โรงเรียน เอกอล นูแวล (Ecole Nouvelle) ใหม่ๆ
Image:ทศ1-21.jpg|พุทธศักราช ๒๔๗๘ พระอนุชาเมื่อเข้าศึกษา ชั้นมัธยมที่โรงเรียน เอกอล นูแวล (Ecole Nouvelle) ใหม่ๆ
บรรทัดที่ 37: บรรทัดที่ 39:
Image:ทศ1-24.jpg|วังสระปทุม กรุงเทพฯ
Image:ทศ1-24.jpg|วังสระปทุม กรุงเทพฯ
</gallery>
</gallery>
=== ===
<gallery>
Image:ทศ1-25.jpg|
Image:ทศ1-26.jpg|
Image:ทศ1-28.jpg|กำลังตอกตะปู
Image:ทศ1-29.jpg|เล่นเป็นช่างไม้
Image:ทศ1-30.jpg|
Image:ทศ1-31.jpg|เล่นกองทราย
Image:ทศ1-32.jpg|ถึงแม้พระองค์เล็กเดินได้แล้ว ก็ยังชอบเล่นรถเข็นกัน
Image:ทศ1-33.jpg|
Image:ทศ1-35.jpg|พระพันวัสสาฯ ประทานเกวียนเล็กๆ ให้นั่งเล่นกัน
Image:ทศ1-36.jpg|พระองค์เล็กกับเหมือน
Image:ทศ1-37.jpg|ลูกหมา ๒ ตัวนี้เป็นลูกของเหมือน
Image:ทศ1-38.jpg|พระองค์เล็กกับสุนัขและลิง
Image:ทศ1-39.jpg|นั่งเล่นกันที่เฉลียงแฟลต ช่วยกันทรงประดิษฐ์อะไรต่างๆ ณ โลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
Image:ทศ1-40.jpg|
Image:ทศ1-41.jpg|เตรียมตั้งรถกระเช้า
Image:ทศ1-42.jpg|เล่นรถไฟ
Image:ทศ1-43.jpg|
Image:ทศ1-44.jpg|
Image:ทศ1-45.jpg|ทรงปลูกต้นไม้
Image:ทศ1-46.jpg|ทรงรดน้ำต้นไม้
Image:ทศ1-47.jpg|วิ่งกลับมาปลูกไว้ริมครอง
Image:ทศ1-48.jpg|เดือนตุลาคม ๒๔๗๖ บนเฉลียงแฟลตที่พัก เมืองโลซานน์
Image:ทศ1-49.jpg|ถ้าอากาศร้อนจริงๆ จะช่วยกันล้างเฉลียง
Image:ทศ1-50.jpg|ไปรษณียบัตรของพระองค์เล็ก
</gallery>
</div></div>
<div style="display:table; clear:both">
<div class="kgreen">
"... อาจมีบางคนเข้าใจว่า ทำไมจึงสนใจเรื่องชลประทานหรือเรื่องป่าไม้ จำได้เมื่ออายุ ๑๐ ขวบ ที่โรงเรียนมีครูคนหนึ่งซึ่งเดี๋ยวนี้ตายไปแล้ว สอนเรื่องวิทยาศาสตร์ เรื่องการอนุรักษ์ดิน แล้วให้เขียนว่า ภูเขาต้องมีป่าไม้ ไม่อย่างนั้นเม็ดฝนลงมาแล้วจะชะดินลงมาเร็ว ทำให้ไหลตามน้ำไปทำความเสียหาย ดินหมดจากภูเขาเพราะไหลตามสายน้ำไป ก็เป็นหลักของชลประทานที่ว่า ถ้าเราไม่รักษาป่าไม้ข้างบนจะทำให้เดือดร้อนตลอดตั้งแต่ดินบนภูเขาจะหมดไป กระทั่งการที่จะมีตะกอนลงมาทับถมในแม่น้ำ ทำให้น้ำท่วมนี่นะเรียนมาตั้งแต่อายุ ๑๐ ขวบ..."</div>
ในการสร้างเขื่อน จากพระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ว่านี่คือ การสัมผัสครั้งแรกกับงานชลประทานและการปลูกป่า ความว่า
<div class="kgreen">...ในไม่ช้าการเล่นในกองทรายนั้น จะรู้สึกว่าไม่สนุกนัก เพราะเมื่อเอาน้ำเทลงไปในทราย น้ำก็ซึมลงไปหมด จึงย้ายกันออกมาเล่นข้างนอก ขุดคลองในดิน นำน้ำมาใส่ไหลในคลองแล้ววิ่งไปเก็บกิ่งไม้กลับมาปลูกไว้ริมคลอง...
</div>
และมีพระนิพนธ์เกี่ยวกับเรื่องนี้เพิ่มเติมว่า <span class="kgreen">...ทั้งสองพระองค์สนพระทัยในการกั้นน้ำ สร้างเขื่อนแต่เพิ่งได้ทราบว่าไม่ใช่เป็นเพียงการเล่น แต่ยังเน้นการเรียนรู้อีกด้วย...</span>
</div>
<div style="clear:both;padding-top:30px">
----
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.4}}
</div>
[[หมวดหมู่:๘ ทศวรรษแห่งการพัฒนา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 06:38, 7 พฤศจิกายน 2561


ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)

ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)

ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)

ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)

ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)

ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)

ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)

ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)

ทศวรรษที่ ๑ พระราชสมภพ (พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)

ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐานของความดีทุกอย่าง เด็กๆ จึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิดมีขึ้นในตนเอง
เพื่อจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอาด ที่เจริญมั่นคง..


พระบรมราโชวาทพระราชทานเพื่อเชิญลงพิมพ์ในหนังสือวันเด็ก พุทธศักราช ๒๕๓๑





"... อาจมีบางคนเข้าใจว่า ทำไมจึงสนใจเรื่องชลประทานหรือเรื่องป่าไม้ จำได้เมื่ออายุ ๑๐ ขวบ ที่โรงเรียนมีครูคนหนึ่งซึ่งเดี๋ยวนี้ตายไปแล้ว สอนเรื่องวิทยาศาสตร์ เรื่องการอนุรักษ์ดิน แล้วให้เขียนว่า ภูเขาต้องมีป่าไม้ ไม่อย่างนั้นเม็ดฝนลงมาแล้วจะชะดินลงมาเร็ว ทำให้ไหลตามน้ำไปทำความเสียหาย ดินหมดจากภูเขาเพราะไหลตามสายน้ำไป ก็เป็นหลักของชลประทานที่ว่า ถ้าเราไม่รักษาป่าไม้ข้างบนจะทำให้เดือดร้อนตลอดตั้งแต่ดินบนภูเขาจะหมดไป กระทั่งการที่จะมีตะกอนลงมาทับถมในแม่น้ำ ทำให้น้ำท่วมนี่นะเรียนมาตั้งแต่อายุ ๑๐ ขวบ..."

ในการสร้างเขื่อน จากพระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ว่านี่คือ การสัมผัสครั้งแรกกับงานชลประทานและการปลูกป่า ความว่า

...ในไม่ช้าการเล่นในกองทรายนั้น จะรู้สึกว่าไม่สนุกนัก เพราะเมื่อเอาน้ำเทลงไปในทราย น้ำก็ซึมลงไปหมด จึงย้ายกันออกมาเล่นข้างนอก ขุดคลองในดิน นำน้ำมาใส่ไหลในคลองแล้ววิ่งไปเก็บกิ่งไม้กลับมาปลูกไว้ริมคลอง...

และมีพระนิพนธ์เกี่ยวกับเรื่องนี้เพิ่มเติมว่า ...ทั้งสองพระองค์สนพระทัยในการกั้นน้ำ สร้างเขื่อนแต่เพิ่งได้ทราบว่าไม่ใช่เป็นเพียงการเล่น แต่ยังเน้นการเรียนรู้อีกด้วย...


ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"

จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ