ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่1"

จาก WIKI84
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 20 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
<div style="display:inline-table; clear:both;float:left">
<div style="display:inline-table;width:850px;clear:both;float:left">
<div style="display:table; float:left">
<div style="display:table; float:left">
{{แม่แบบ:8ทศวรรษ}}</div>
{{แม่แบบ:8ทศวรรษ}}</div>
<div style="display:table;float:left; padding-left:5px">
<div style="display:table;width:700px; float:left; padding-left:25px">
'''ทศวรรษที่ ๑ พระราชสมภพ (พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)'''
<h1>ทศวรรษที่ ๑ พระราชสมภพ (พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)</h1>


<div class="kgreen" style="font-size:120%" align="center">ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐานของความดีทุกอย่าง เด็กๆ จึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิดมีขึ้นในตนเอง<br /> เพื่อจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอาด ที่เจริญมั่นคง..
<div class="kgreen" style="font-size:120%" align="center">ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐานของความดีทุกอย่าง เด็กๆ จึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิดมีขึ้นในตนเอง<br /> เพื่อจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอาด ที่เจริญมั่นคง..
บรรทัดที่ 40: บรรทัดที่ 40:
</gallery>
</gallery>


<div style="display:block; width:80%">
=== ===


"... อาจมีบางคนเข้าใจว่า ทำไมจึงสนใจเรื่องชลประทานหรือเรื่องป่าไม้ จำได้เมื่ออายุ ๑๐ ขวบ ที่โรงเรียนมีครูคนหนึ่งซึ่งเดี๋ยวนี้ตายไปแล้ว สอนเรื่องวิทยาศาสตร์ เรื่องการอนุรักษ์ดิน แล้วให้เขียนว่า ภูเขาต้องมีป่าไม้ ไม่อย่างนั้นเม็ดฝนลงมาแล้วจะชะดินลงมาเร็ว ทำให้ไหลตามน้ำไปทำความเสียหาย ดินหมดจากภูเขาเพราะไหลตามสายน้ำไป ก็เป็นหลักของชลประทานที่ว่า ถ้าเราไม่รักษาป่าไม้ข้างบนจะทำให้เดือดร้อนตลอด ตั้งแต่ดินบนภูเขาจะหมดไป กระทั่งการที่จะมีตะกอนลงมาทับถมในแม่น้ำ ทำให้น้ำท่วมนี่นะเรียนมาตั้งแต่อายุ ๑๐ ขวบ..."
ในการสร้างเขื่อน จากพระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ว่านี่คือ การสัมผัสครั้งแรกกับงานชลประทานและการปลูกป่า ความว่า
...ในไม่ช้าการเล่นในกองทรายนั้น จะรู้สึกว่าไม่สนุกนัก เพราะเมื่อเอาน้ำเทลงไปในทราย น้ำก็ซึมลงไปหมด จึงย้ายกันออกมาเล่นข้างนอก ขุดคลองในดิน นำน้ำมาใส่ไหลในคลองแล้ววิ่งไปเก็บกิ่งไม้กลับมาปลูกไว้ริมคลอง...
และมีพระนิพนธ์เกี่ยวกับเรื่องนี้เพิ่มเติมว่า
...ทั้งสองพระองค์สนพระทัยในการกั้นน้ำ สร้างเขื่อนแต่เพิ่งได้ทราบว่าไม่ใช่เป็นเพียงการเล่น แต่ยังเน้นการเรียนรู้อีกด้วย...




=== ===
<gallery>
<gallery>
Image:ทศ1-25.jpg|
Image:ทศ1-25.jpg|
บรรทัดที่ 83: บรรทัดที่ 70:
Image:ทศ1-50.jpg|ไปรษณียบัตรของพระองค์เล็ก
Image:ทศ1-50.jpg|ไปรษณียบัตรของพระองค์เล็ก
</gallery>
</gallery>
</div></div>
<div style="display:table; clear:both">
<div class="kgreen">
"... อาจมีบางคนเข้าใจว่า ทำไมจึงสนใจเรื่องชลประทานหรือเรื่องป่าไม้ จำได้เมื่ออายุ ๑๐ ขวบ ที่โรงเรียนมีครูคนหนึ่งซึ่งเดี๋ยวนี้ตายไปแล้ว สอนเรื่องวิทยาศาสตร์ เรื่องการอนุรักษ์ดิน แล้วให้เขียนว่า ภูเขาต้องมีป่าไม้ ไม่อย่างนั้นเม็ดฝนลงมาแล้วจะชะดินลงมาเร็ว ทำให้ไหลตามน้ำไปทำความเสียหาย ดินหมดจากภูเขาเพราะไหลตามสายน้ำไป ก็เป็นหลักของชลประทานที่ว่า ถ้าเราไม่รักษาป่าไม้ข้างบนจะทำให้เดือดร้อนตลอดตั้งแต่ดินบนภูเขาจะหมดไป กระทั่งการที่จะมีตะกอนลงมาทับถมในแม่น้ำ ทำให้น้ำท่วมนี่นะเรียนมาตั้งแต่อายุ ๑๐ ขวบ..."</div>
ในการสร้างเขื่อน จากพระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ว่านี่คือ การสัมผัสครั้งแรกกับงานชลประทานและการปลูกป่า ความว่า
<div class="kgreen">...ในไม่ช้าการเล่นในกองทรายนั้น จะรู้สึกว่าไม่สนุกนัก เพราะเมื่อเอาน้ำเทลงไปในทราย น้ำก็ซึมลงไปหมด จึงย้ายกันออกมาเล่นข้างนอก ขุดคลองในดิน นำน้ำมาใส่ไหลในคลองแล้ววิ่งไปเก็บกิ่งไม้กลับมาปลูกไว้ริมคลอง...
</div>
และมีพระนิพนธ์เกี่ยวกับเรื่องนี้เพิ่มเติมว่า <span class="kgreen">...ทั้งสองพระองค์สนพระทัยในการกั้นน้ำ สร้างเขื่อนแต่เพิ่งได้ทราบว่าไม่ใช่เป็นเพียงการเล่น แต่ยังเน้นการเรียนรู้อีกด้วย...</span>
</div>
</div>


บรรทัดที่ 89: บรรทัดที่ 89:
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.4}}
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.4}}
</div>
</div>
[[หมวดหมู่:๘ ทศวรรษแห่งการพัฒนา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 06:38, 7 พฤศจิกายน 2561


ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)

ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)

ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)

ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)

ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)

ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)

ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)

ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)

ทศวรรษที่ ๑ พระราชสมภพ (พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)

ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐานของความดีทุกอย่าง เด็กๆ จึงต้องฝึกฝนอบรมให้เกิดมีขึ้นในตนเอง
เพื่อจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์ และมีชีวิตที่สะอาด ที่เจริญมั่นคง..


พระบรมราโชวาทพระราชทานเพื่อเชิญลงพิมพ์ในหนังสือวันเด็ก พุทธศักราช ๒๕๓๑





"... อาจมีบางคนเข้าใจว่า ทำไมจึงสนใจเรื่องชลประทานหรือเรื่องป่าไม้ จำได้เมื่ออายุ ๑๐ ขวบ ที่โรงเรียนมีครูคนหนึ่งซึ่งเดี๋ยวนี้ตายไปแล้ว สอนเรื่องวิทยาศาสตร์ เรื่องการอนุรักษ์ดิน แล้วให้เขียนว่า ภูเขาต้องมีป่าไม้ ไม่อย่างนั้นเม็ดฝนลงมาแล้วจะชะดินลงมาเร็ว ทำให้ไหลตามน้ำไปทำความเสียหาย ดินหมดจากภูเขาเพราะไหลตามสายน้ำไป ก็เป็นหลักของชลประทานที่ว่า ถ้าเราไม่รักษาป่าไม้ข้างบนจะทำให้เดือดร้อนตลอดตั้งแต่ดินบนภูเขาจะหมดไป กระทั่งการที่จะมีตะกอนลงมาทับถมในแม่น้ำ ทำให้น้ำท่วมนี่นะเรียนมาตั้งแต่อายุ ๑๐ ขวบ..."

ในการสร้างเขื่อน จากพระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ว่านี่คือ การสัมผัสครั้งแรกกับงานชลประทานและการปลูกป่า ความว่า

...ในไม่ช้าการเล่นในกองทรายนั้น จะรู้สึกว่าไม่สนุกนัก เพราะเมื่อเอาน้ำเทลงไปในทราย น้ำก็ซึมลงไปหมด จึงย้ายกันออกมาเล่นข้างนอก ขุดคลองในดิน นำน้ำมาใส่ไหลในคลองแล้ววิ่งไปเก็บกิ่งไม้กลับมาปลูกไว้ริมคลอง...

และมีพระนิพนธ์เกี่ยวกับเรื่องนี้เพิ่มเติมว่า ...ทั้งสองพระองค์สนพระทัยในการกั้นน้ำ สร้างเขื่อนแต่เพิ่งได้ทราบว่าไม่ใช่เป็นเพียงการเล่น แต่ยังเน้นการเรียนรู้อีกด้วย...


ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"

จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ