ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่2"

จาก WIKI84
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 9 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
<div style="display:inline-table; clear:both;float:left">
<div style="display:inline-table;width:850px; clear:both;float:left">
<div style="display:table; float:left">
<div style="display:table; float:left">
{{แม่แบบ:8ทศวรรษ}}</div>
{{แม่แบบ:8ทศวรรษ}}</div>
<div style="display:table;float:left; padding-left:5px">'''ทศวรรษที่ ๒ นพมหาจักรี ทรงพระปรีชาชาญพูนเพิ่ม (พ.ศ. ๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)
<div style="display:table;width:700px; float:left; padding-left:25px"><h1>ทศวรรษที่ ๒ นพมหาจักรี ทรงพระปรีชาชาญพูนเพิ่ม (พ.ศ. ๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)
'''
</h1>




บรรทัดที่ 16: บรรทัดที่ 16:
</div>
</div>


=== ===
<div id="century">
<div id="lcentury">
[[ภาพ:ทศ2-21.jpg|thumb|left|พุทธศักราช ๒๔๘๙ ประทับรถยนต์พระที่นั่ง เพื่อเสด็จฯ กลับประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทรงศึกษาต่อ]]
</div>
<div id="rcentury">แต่เนื่องจากยังมีพระราชกิจด้านการศึกษา จึงต้องเสด็จพระราชดำเนินกลับไปยัง<br />ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพื่อทรงศึกษาต่อในเดือนสิงหาคม พ.ศ.๒๔๘๙ ในครั้งนี้ <br />ทรงเปลี่ยนแปลงแขนงวิชาที่กำลังทรงศึกษาเพื่อให้เหมาะสมและเป็นประโยชน์<br />แก่การปกครองประเทศในอนาคต


<div style="color:darkgreen">"...วันที่ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๘๙ วันนี้ถึงวันที่เราจะต้องจากไปแล้ว ตามถนนผู้คน<br />ช่างมากมายเสียจริงๆ ที่ถนนราชดำเนินกลางราษฎรเข้ามาใกล้ชิดรถที่เรานั่ง กลัว<br />เหลือเกินว่าล้อรถของเราจะไปทับแข้งทับขาใครเขาบ้าง รถแล่นฝ่าฝูงชนไปได้<br />อย่างช้าที่สุด ถึงวัดเบญจมบพิตรรถแล่นได้เร็วขึ้นบ้าง ตามทางที่ผ่านมาได้ยินเสียงใคร<br />คนหนึ่งร้องขึ้นมาดัง ๆ ว่า '...อย่าละทิ้งประชาชน...' อยากจะร้องบอกเขาลงไปว่า</div>
<div style="color:darkgreen; font-size:120%">...ถ้าประชาชนไม่ทิ้งข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะละทิ้งอย่างไรได้..."</div>
จากพระราชดำรัสดังกล่าวเป็นดั่งคำสัญญาที่จะเสด็จฯ กลับมา สะท้อนให้เห็นถึง<br />ความผูกพันที่ทรงมีต่ออาณาประชาราษฎร์ต่อเนื่องมาตั้งแต่แรกเริ่มรัชกาล ซึ่ง<br />อธิบายได้จากพระราชหัตถเลขาที่ทรงมีถึงพระสหายเก่า<br />หลังครองสิริราชสมบัติแล้ว ความว่า
<div style="color:darkgreen">"...ข้าพเจ้าได้เรียนรู้ที่จะรักประชาชนของข้าพเจ้า เมื่อได้ติดต่อกับเขาเหล่านั้น<br /> ซึ่งทำให้ข้าพเจ้าสำนึกในความรักอันมีค่ายิ่ง แต่ข้าพเจ้าได้เรียนรู้โดยการ<br />ทำงานที่นี่ว่า ที่ของข้าพเจ้าในโลกนี้คือ '''การได้อยู่ท่ามกลางประชาชนของข้าพเจ้า <br />นั่นคือคนไทยทั้งปวง..."'''</div>
</div>
</div>
=== ===
<gallery>
<gallery>
Image:ทศวรรษที่2.jpg|
Image:ทศวรรษที่2.jpg|
บรรทัดที่ 42: บรรทัดที่ 59:
</div>
</div>


[[ภาพ:ทศ2-21.jpg|thumb|left|พุทธศักราช ๒๔๘๙ ประทับรถยนต์พระที่นั่ง เพื่อเสด็จฯ กลับประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทรงศึกษาต่อ]]
แต่เนื่องจากยังมีพระราชกิจด้านการศึกษา จึงต้องเสด็จพระราชดำเนินกลับไปยังประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพื่อทรงศึกษาต่อในเดือนสิงหาคม พ.ศ.๒๔๘๙ ในครั้งนี้ ทรงเปลี่ยนแปลงแขนงวิชาที่กำลังทรงศึกษาเพื่อให้เหมาะสมและเป็นประโยชน์แก่การปกครองประเทศในอนาคต
<div style="color:darkgreen">"...วันที่ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๘๙ วันนี้ถึงวันที่เราจะต้องจากไปแล้ว ตามถนนผู้คนช่างมากมายเสียจริงๆ ที่ถนนราชดำเนินกลางราษฎรเข้ามาใกล้ชิดรถที่เรานั่ง กลัวเหลือเกินว่าล้อรถของเราจะไปทับแข้งทับขาใครเขาบ้าง รถแล่นฝ่าฝูงชนไปได้อย่างช้าที่สุด ถึงวัดเบญจมบพิตรรถแล่นได้เร็วขึ้นบ้าง ตามทางที่ผ่านมาได้ยินเสียงใครคนหนึ่งร้องขึ้นมาดัง ๆ ว่า '...อย่าละทิ้งประชาชน...'  อยากจะร้องบอกเขาลงไปว่า</div>
<div style="color:darkgreen; font-size:120%">...ถ้าประชาชนไม่ทิ้งข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะละทิ้งอย่างไรได้..."</div>
จากพระราชดำรัสดังกล่าวเป็นดั่งคำสัญญาที่จะเสด็จฯ กลับมา สะท้อนให้เห็นถึงความผูกพันที่ทรงมีต่ออาณาประชาราษฎร์ต่อเนื่องมาตั้งแต่แรกเริ่มรัชกาล ซึ่งอธิบายได้จากพระราชหัตถเลขาที่ทรงมีถึงพระสหายเก่าหลังครองสิริราชสมบัติแล้ว ความว่า
<div style="color:darkgreen">"...ข้าพเจ้าได้เรียนรู้ที่จะรักประชาชนของข้าพเจ้า เมื่อได้ติดต่อกับเขาเหล่านั้น ซึ่งทำให้ข้าพเจ้าสำนึกในความรักอันมีค่ายิ่ง แต่ข้าพเจ้าได้เรียนรู้โดยการทำงานที่นี่ว่า ที่ของข้าพเจ้าในโลกนี้คือ '''การได้อยู่ท่ามกลางประชาชนของข้าพเจ้า นั่นคือคนไทยทั้งปวง..."'''</div>


<div style="clear:both;padding-top:30px">
<div style="clear:both;padding-top:30px">
บรรทัดที่ 57: บรรทัดที่ 64:
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.4}}
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.4}}
</div>
</div>
[[หมวดหมู่:๘ ทศวรรษแห่งการพัฒนา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 05:39, 7 พฤศจิกายน 2561


ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)

ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)

ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)

ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)

ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)

ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)

ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)

ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)

ทศวรรษที่ ๒ นพมหาจักรี ทรงพระปรีชาชาญพูนเพิ่ม (พ.ศ. ๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)


...ประเทศชาติของเราจะเจริญหรือเสื่อมลงนั้น ย่อมขึ้นอยู่กับการศึกษาของประชาชนแต่ละคนเป็นสำคัญ...

ผลการศึกษาอบรมในวันนี้จะเป็นเครื่องกำหนดอนาคตของชาติในวันข้างหน้า...

พระราชดำรัส วันที่ ๒ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๘

พุทธศักราช ๒๔๘๙ ประทับรถยนต์พระที่นั่ง เพื่อเสด็จฯ กลับประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทรงศึกษาต่อ
แต่เนื่องจากยังมีพระราชกิจด้านการศึกษา จึงต้องเสด็จพระราชดำเนินกลับไปยัง
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพื่อทรงศึกษาต่อในเดือนสิงหาคม พ.ศ.๒๔๘๙ ในครั้งนี้
ทรงเปลี่ยนแปลงแขนงวิชาที่กำลังทรงศึกษาเพื่อให้เหมาะสมและเป็นประโยชน์
แก่การปกครองประเทศในอนาคต
"...วันที่ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๘๙ วันนี้ถึงวันที่เราจะต้องจากไปแล้ว ตามถนนผู้คน
ช่างมากมายเสียจริงๆ ที่ถนนราชดำเนินกลางราษฎรเข้ามาใกล้ชิดรถที่เรานั่ง กลัว
เหลือเกินว่าล้อรถของเราจะไปทับแข้งทับขาใครเขาบ้าง รถแล่นฝ่าฝูงชนไปได้
อย่างช้าที่สุด ถึงวัดเบญจมบพิตรรถแล่นได้เร็วขึ้นบ้าง ตามทางที่ผ่านมาได้ยินเสียงใคร
คนหนึ่งร้องขึ้นมาดัง ๆ ว่า '...อย่าละทิ้งประชาชน...' อยากจะร้องบอกเขาลงไปว่า
...ถ้าประชาชนไม่ทิ้งข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะละทิ้งอย่างไรได้..."

จากพระราชดำรัสดังกล่าวเป็นดั่งคำสัญญาที่จะเสด็จฯ กลับมา สะท้อนให้เห็นถึง
ความผูกพันที่ทรงมีต่ออาณาประชาราษฎร์ต่อเนื่องมาตั้งแต่แรกเริ่มรัชกาล ซึ่ง
อธิบายได้จากพระราชหัตถเลขาที่ทรงมีถึงพระสหายเก่า
หลังครองสิริราชสมบัติแล้ว ความว่า

"...ข้าพเจ้าได้เรียนรู้ที่จะรักประชาชนของข้าพเจ้า เมื่อได้ติดต่อกับเขาเหล่านั้น
ซึ่งทำให้ข้าพเจ้าสำนึกในความรักอันมีค่ายิ่ง แต่ข้าพเจ้าได้เรียนรู้โดยการ
ทำงานที่นี่ว่า ที่ของข้าพเจ้าในโลกนี้คือ การได้อยู่ท่ามกลางประชาชนของข้าพเจ้า
นั่นคือคนไทยทั้งปวง..."



ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"

จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ