ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่8"

จาก WIKI84
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 38 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
<div style="display:inline-table; clear:both;float:left">
__NOTOC__
<div style="display:inline-table;width:850px; clear:both;float:left">
<div style="display:table; float:left">
<div style="display:table; float:left">
{{แม่แบบ:8ทศวรรษ}}</div>
{{แม่แบบ:8ทศวรรษ}}</div>
<div style="display:table;float:left; padding-left:5px">'''ทศวรรษที่ ๘ ๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์ (พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)'''
<div style="display:table;float:left;width:700px; padding-left:25px"><h1>ทศวรรษที่ ๘ ๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์ (พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)</h1>




บรรทัดที่ 13: บรรทัดที่ 14:
เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๑๘ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา
เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๑๘ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา
</div>
</div>
=== ===
<div id="century">
<div id="lcentury">
[[ภาพ:ทศ8-06.jpg|left|200px]]
</div>
<div id="rcentury">'''เศรษฐกิจพอเพียง : ปรัชญาเพื่อการดำรงชีพของชาวไทย'''
...ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็น ที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งจะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาต่างๆ มาใช้ในการ
วางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติและความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
...ถ้าสามารถที่จะเปลี่ยนไป ทำให้กลับเป็น[[เศรษฐกิจพอเพียง]] ไม่ต้องทั้งหมดแม้แต่ครึ่งก็ไม่ต้อง อาจจะสักเศษหนึ่งส่วนสี่ ก็สามารถอยู่ได้ การแก้ไข อาจต้องใช้เวลา ไม่ใช่ง่ายๆ โดยมากคนก็ใจร้อนเพราะเดือดร้อน แต่ถ้าทำตั้งแต่เดี๋ยวนี้ก็สามารถที่จะแก้ไขได้...


<div style="text-align:right">
พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิตเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๐</div></div>
</div>


=== ===
=== ===
<div id="king" style="display:table; width:615px; clear:both">
<div id="century"><div id="lcentury">
<div style="float:left">
<gallery>
Image:ทศ8-13.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๒
Image:ทศ8-15.jpg|
</gallery>
</div>
<div id="rcentury">'''เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ : เพื่อบรรเทาอุทกภัยและภัยแล้ง'''<br />
<div class="kgreen">
"...ที่ว่า ๕-๖ ปีนี้ ความจริงได้เริ่มโครงการนี้มากกว่า ๕-๖ ปี โครงการที่คิดจะทำนี้ บอกได้ ไม่กล้าพูดมาหลายปีแล้วเพราะเดี๋ยวจะมีการคัดค้านจากผู้เชี่ยวชาญ จากผู้ที่ต่อต้านการทำโครงการ แต่โครงการนี้เป็นโครงการที่อยู่ในวิสัยที่จะทำได้ แม้จะต้องเสียค่าใช้จ่ายไม่ใช่น้อย แต่ถ้าดำเนินไปเดี๋ยวนี้อีก ๕-๖ ปีข้างหน้าเราก็สบาย แต่ถ้าไม่ทำในอีก๕-๖ ปีข้างหน้าราคาค่าสร้าง ค่าดำเนินการก็จะขึ้นไป ๒ เท่า ๓ เท่า ลงท้ายก็จะต้องประวิงต่อไป และเมื่อประวิงต่อไปไม่ได้ทำ เราก็ต้องอดน้ำแน่ จะกลายเป็นทะเลทราย แล้วเราก็จะอพยพไปที่ไหนไม่ได้ โครงการนี้คือสร้างอ่างเก็บน้ำ ๒ แห่ง แห่งหนึ่งคือ แม่น้ำป่าสัก อีกแห่งคือแม่น้ำนครนายก สองแห่งรวมกันจะเก็บกักน้ำเหมาะพอเพียงสำหรับการบริโภค การใช้ในเขตกรุงเทพฯ และเขตใกล้เคียงที่ราบลุ่มของประเทศไทยนี้..."
</div>
<div style="text-align:right">
พระราชดำริในการศึกษาความเหมาะสม<br />โครงการเขื่อนป่าสัก พระราชทานแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง<br />เมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายนพ.ศ.๒๕๓๗</div>
</div>
 
</div>
 
=== ===
<div id="century"><div id="lcentury">
<gallery>
<gallery>
Image:ทศ8-12.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๒
Image:ทศ8-12.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๒
บรรทัดที่ 23: บรรทัดที่ 55:
</gallery>
</gallery>
</div>
</div>
<div style="float:left; padding-left:5px">'''[[ข้าว]] อาหารหลักของคนไทย'''<br />
<div id="rcentury">'''[[ข้าว]] อาหารหลักของคนไทย'''<br />
<div class="kgreen">"...ข้าวซ้อมมือหรือข้าวกล้อง เรากินทุกวัน เพราะว่ามีประโยชน์ ร่างกายแข็งแรง ข้าวขาวเอาของดีออกไปหมด ข้าวกล้องนี่ดี คนบอกว่าเป็นของคนจน เราก็เป็นคนจน..."</div>
<div class="kgreen">"...ข้าวซ้อมมือหรือข้าวกล้อง เรากินทุกวัน เพราะว่ามีประโยชน์ ร่างกายแข็งแรง ข้าวขาวเอาของดีออกไปหมด ข้าวกล้องนี่ดี คนบอกว่าเป็นของคนจน เราก็เป็นคนจน..."</div>
<div style="text-align:right">
<div style="text-align:right">
พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานในโอกาส<br />เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเกี่ยวข้าวในพื้นที่โครงการพัฒนาส่วนพระองค์<br />ตำบลบางแตน อำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี<br />เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๒</div>
พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานในโอกาสเสด็จฯ ไปทรงเกี่ยวข้าวในพื้นที่โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ตำบลบางแตน อำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรีเมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๒</div>
</div>
</div>


บรรทัดที่ 34: บรรทัดที่ 66:


<gallery>
<gallery>
Image:ทศวรรษที่8.jpg|
Image:ทศ8-01.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๐<br />วันที่ ๓ เมษายน ทรงติดตามการดำเนินงาน ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเพชรบุรี
Image:ทศ8-02.jpg|
Image:ทศ8-02.jpg|
Image:ทศ8-03.jpg|
Image:ทศ8-03.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๐<br />วันที่ ๓ เมษายน พระราชทานพระราชดำริให้ศึกษาทดลองการปลูกหญ้าแฝก โดยเสด็จฯ ไปทอดพระเนตร<br />แปลงปลูกหญ้าแฝกที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ
Image:ทศ8-04.jpg|
Image:ทศ8-04.jpg|
Image:ทศ8-05.jpg|
Image:ทศ8-05.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๐<br />เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมชุมชนชาวมุสลิม
Image:ทศ8-06.jpg|
Image:ทศ8-07.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๑<br />วันที่ ๒๐ มิถุนายน เสด็จฯไปยังโครงการพัฒนาพื้นที่หนองใหญ่ตามพระราชดำริ จังหวัดชุมพร
Image:ทศ8-07.jpg|
Image:ทศ8-08.jpg|๒๐ มิถุนายน ๒๕๔๑<br />จังหวัดชุมพร
Image:ทศ8-08.jpg|
Image:ทศ8-09.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๑<br />วันที่ ๑๔ กรกฎาคม เสด็จฯ ไปยังศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเพชรบุรี
Image:ทศ8-09.jpg|
Image:ทศ8-10.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๑<br />วันที่ ๑๔ กรกฎาคม เสด็จฯ ไปยังศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเพชรบุรี
Image:ทศ8-10.jpg|
Image:ทศ8-14.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๒<br />วันที่ ๒๕ พฤษภาคม เสด็จฯ ไปทรงเปิดเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี
Image:ทศ8-13.jpg|
Image:ทศ8-14.jpg|
Image:ทศ8-15.jpg|
Image:ทศ8-16.jpg|
Image:ทศ8-16.jpg|
Image:ทศ8-17.jpg|
Image:ทศ8-17.jpg|
Image:ทศ8-18.jpg|
Image:ทศ8-18.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๓<br />วันที่ ๒๐ เมษายน เสด็จฯ ไปยังศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเพชรบุรี
Image:ทศ8-19.jpg|
Image:ทศ8-19.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๓<br />วันที่ ๒๐ เมษายน เสด็จฯ ไปยังศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเพชรบุรี
Image:ทศ8-20.jpg|
Image:ทศ8-20.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๔<br />วันที่ ๒ มิถุนายน เสด็จฯ ไปทรงวางศิลาฤกษ์ที่เขื่อนขุนด่านปราการชล จังหวัดนครนายก
Image:ทศ8-21.jpg|
Image:ทศ8-21.jpg|
Image:ทศ8-22.jpg|
Image:ทศ8-22.jpg|
Image:ทศ8-23.jpg|
Image:ทศ8-23.jpg|เขื่อนขุนด่านปราการชล
Image:ทศ8-24.jpg|
Image:ทศ8-24.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๔<br />วันที่ ๖ ตุลาคม เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรโครงการอ่างเก็บน้ำเขาเต่า อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งเป็น<br />โครงการพัฒนาแหล่งน้ำแห่งแรก
Image:ทศ8-25.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๔<br />พระราชทานความรู้แก่นักเรียนโรงเรียนวังไกลกังวล ณ โครงการอ่างเก็บน้ำเขาเต่า จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
</gallery>
</gallery>


=== ===
=== ===


<gallery>
<gallery>
Image:ทศ8-25.jpg|
Image:ทศ8-26.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๔<br />วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน เสด็จฯ ไปยังพื้นที่ปลูกป่าชายเลน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
Image:ทศ8-25.jpg|
Image:ทศ8-27.jpg|
Image:ทศ8-27.jpg|
Image:ทศ8-28.jpg|
Image:ทศ8-28.jpg|เขื่อนแควน้อย จังหวัดพิษณุโลก
Image:ทศ8-29.jpg|
Image:ทศ8-29.jpg|ส.ค.ส. พระราชทาน <br />พุทธศักราช ๒๕๔๖
Image:ทศ8-30.jpg|
Image:ทศ8-30.jpg|ส.ค.ส. พระราชทาน <br />พุทธศักราช ๒๕๔๗
Image:ทศ8-31.jpg|
Image:ทศ8-31.jpg|ส.ค.ส. พระราชทาน <br />พุทธศักราช ๒๕๔๙
Image:ทศ8-32.jpg|
Image:ทศ8-32.jpg|ส.ค.ส. พระราชทาน <br />พุทธศักราช ๒๕๕๐
Image:ทศ8-33.jpg|
Image:ทศ8-33.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๗<br />วันที่ ๑๕ กรกฎาคม เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรโครงการป้องกันภัยแล้ง แก้ไขปัญหาอุทกภัย จังหวัดเพชรบุรี
Image:ทศ8-34.jpg|
Image:ทศ8-34.jpg|
Image:ทศ8-35.jpg|
Image:ทศ8-35.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๘<br />วันที่ ๘ พฤศจิกายน เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรโครงการอ่างเก็บน้ำยางชุม อันเนื่องมาจากพระ<br />ราชดำริ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
Image:ทศ8-36.jpg|
Image:ทศ8-36.jpg|
Image:ทศ8-37.jpg|
Image:ทศ8-37.jpg|วันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๙<br />นายโคฟี อันนัน เลขาธิการสหประชาชาติ ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์<br />[[รางวัลฯ-โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ|ดูข้อมูลเกี่ยวข้อง]]
Image:ทศ8-38.jpg|
Image:ทศ8-38.jpg|วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙<br />เสด็จออก ณ สีหบัญชร พระที่นั่งอนันตสมาคม
Image:ทศ8-39.jpg|
Image:ทศ8-39.jpg|
Image:ทศ8-40.jpg|
Image:ทศ8-40.jpg|
Image:ทศ8-41.jpg|
Image:ทศ8-41.jpg|
Image:ทศ8-42.jpg|
Image:ทศ8-42.jpg|พุทธศักราช ๒๕๕๐<br />ภายลายพระหัตถ์ ที่ได้พระราชทานพระราชดำริเพิ่มเติมเพื่อให้การช่วยเหลือราษฎรเกิดประโยชน์สูงสุด
Image:ทศ8-43.jpg|
Image:ทศ8-44.jpg|
Image:ทศ8-44.jpg|
Image:ทศ8-45.jpg|
Image:ทศ8-45.jpg|พุทธศักราช ๒๕๕๐<br />วันที่ ๓๐ เมษายน เสด็จฯ ไปในพิธีปล่อยเรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง (ต.๙๙๑) ลงน้ำ ณ อู่หมายเลข ๑ กรมอู่ทหารเรือ
Image:ทศ8-46.jpg|
Image:ทศ8-46.jpg|พุทธศักราช ๒๕๕๐<br />วันที่ ๑๒ กันยายน เสด็จฯ ไปในพิธีฉลองเสาชิงช้า สืบเนื่องจากที่กรุงเทพมหานครได้บูรณปฏิสังขรณ์เสาชิงช้า
Image:ทศ8-47.jpg|
Image:ทศ8-47.jpg|
Image:ทศ8-48.jpg|
Image:ทศ8-48.jpg|
บรรทัดที่ 96: บรรทัดที่ 123:
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.4}}
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.4}}
</div>
</div>
[[หมวดหมู่:๘ ทศวรรษแห่งการพัฒนา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 05:42, 7 พฤศจิกายน 2561


ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)

ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)

ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)

ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)

ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)

ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)

ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)

ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)

ทศวรรษที่ ๘ ๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์ (พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)


...คนเราถ้าพอใจในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย
ถ้าทุกประเทศมีความคิด อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียง
หมายความว่า พอประมาณไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข...


พระราชดำรัสพระราชทานแก่คณะบุคคลต่าง ๆ ที่เข้าเฝ้าฯ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๑๘ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา

เศรษฐกิจพอเพียง : ปรัชญาเพื่อการดำรงชีพของชาวไทย

...ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็น ที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งจะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาต่างๆ มาใช้ในการ วางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติและความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

...ถ้าสามารถที่จะเปลี่ยนไป ทำให้กลับเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ต้องทั้งหมดแม้แต่ครึ่งก็ไม่ต้อง อาจจะสักเศษหนึ่งส่วนสี่ ก็สามารถอยู่ได้ การแก้ไข อาจต้องใช้เวลา ไม่ใช่ง่ายๆ โดยมากคนก็ใจร้อนเพราะเดือดร้อน แต่ถ้าทำตั้งแต่เดี๋ยวนี้ก็สามารถที่จะแก้ไขได้...


พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิตเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๐

เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ : เพื่อบรรเทาอุทกภัยและภัยแล้ง

"...ที่ว่า ๕-๖ ปีนี้ ความจริงได้เริ่มโครงการนี้มากกว่า ๕-๖ ปี โครงการที่คิดจะทำนี้ บอกได้ ไม่กล้าพูดมาหลายปีแล้วเพราะเดี๋ยวจะมีการคัดค้านจากผู้เชี่ยวชาญ จากผู้ที่ต่อต้านการทำโครงการ แต่โครงการนี้เป็นโครงการที่อยู่ในวิสัยที่จะทำได้ แม้จะต้องเสียค่าใช้จ่ายไม่ใช่น้อย แต่ถ้าดำเนินไปเดี๋ยวนี้อีก ๕-๖ ปีข้างหน้าเราก็สบาย แต่ถ้าไม่ทำในอีก๕-๖ ปีข้างหน้าราคาค่าสร้าง ค่าดำเนินการก็จะขึ้นไป ๒ เท่า ๓ เท่า ลงท้ายก็จะต้องประวิงต่อไป และเมื่อประวิงต่อไปไม่ได้ทำ เราก็ต้องอดน้ำแน่ จะกลายเป็นทะเลทราย แล้วเราก็จะอพยพไปที่ไหนไม่ได้ โครงการนี้คือสร้างอ่างเก็บน้ำ ๒ แห่ง แห่งหนึ่งคือ แม่น้ำป่าสัก อีกแห่งคือแม่น้ำนครนายก สองแห่งรวมกันจะเก็บกักน้ำเหมาะพอเพียงสำหรับการบริโภค การใช้ในเขตกรุงเทพฯ และเขตใกล้เคียงที่ราบลุ่มของประเทศไทยนี้..."

พระราชดำริในการศึกษาความเหมาะสม
โครงการเขื่อนป่าสัก พระราชทานแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายนพ.ศ.๒๕๓๗

ข้าว อาหารหลักของคนไทย
"...ข้าวซ้อมมือหรือข้าวกล้อง เรากินทุกวัน เพราะว่ามีประโยชน์ ร่างกายแข็งแรง ข้าวขาวเอาของดีออกไปหมด ข้าวกล้องนี่ดี คนบอกว่าเป็นของคนจน เราก็เป็นคนจน..."
พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานในโอกาสเสด็จฯ ไปทรงเกี่ยวข้าวในพื้นที่โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ตำบลบางแตน อำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรีเมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๒


ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"

จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ