ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่3"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 7 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
<div style="display:inline-table; clear:both;float:left"> | __NOTOC__ | ||
<div style="display:inline-table;width:850px; clear:both;float:left"> | |||
<div style="display:table; float:left"> | <div style="display:table; float:left"> | ||
{{แม่แบบ:8ทศวรรษ}}</div> | {{แม่แบบ:8ทศวรรษ}}</div> | ||
<div style="display:table;float:left; padding-left: | <div style="display:table;float:left;width:700px; padding-left:25px"><h1>ทศวรรษที่ ๓ แรกเริ่มทรงเรียนรู้เพื่อประชาชน (พ.ศ. ๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)</h1> | ||
<div class="kgreen" style="font-size:120%" align="center"> | <div class="kgreen" style="font-size:120%" align="center"> | ||
...ความรู้นั้นเปรียบเสมือนศาสตราวุธ ย่อมจะเป็นคุณหรือโทษให้เท่ากัน | ...ความรู้นั้นเปรียบเสมือนศาสตราวุธ ย่อมจะเป็นคุณหรือโทษให้เท่ากัน สำคัญอยู่ที่ใช้ คือถ้าใช้ถูกทางก็ป้องกันอันตรายได้ ถ้าใช้ไม่ถูกทางก็กลับจะเป็นอันตรายประหารตัวเอง และแม้ผู้อื่นด้วย... | ||
</div> | </div> | ||
<div style="font-size:90%; text-align:right"> | <div style="font-size:90%; text-align:right"> | ||
พระบรมราโชวาทพระราชทานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ ๒๐ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๐๗ | |||
วันที่ ๒๐ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๐๗ | |||
</div> | </div> | ||
=== === | === === | ||
<div id="century"> | <div id="century"> | ||
<div | <div id="lcentury"> | ||
<gallery> | <gallery> | ||
Image:ทศ3-02.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๐ ระหว่างทรงศึกษาต่อ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจด้วย | Image:ทศ3-02.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๐ ระหว่างทรงศึกษาต่อ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจด้วย | ||
บรรทัดที่ 22: | บรรทัดที่ 21: | ||
</gallery> | </gallery> | ||
</div> | </div> | ||
<div | <div id="rcentury">'''ทรงมุ่งมั่นศึกษา : สร้างภูมิพลังเพื่อแผ่นดิน'''<br /> | ||
โดยทรงเปลี่ยนแนวการศึกษาของพระองค์จากสาขาวิศวกรรมศาสตร์ที่ทรงศึกษาอยู่เดิม เป็นสาขาวิชาเกี่ยวกับการปกครอง เช่น กฎหมาย อักษรศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นต้น | |||
ในช่วงที่ทรงศึกษาอยู่ต่างประเทศได้ทรงมีโอกาสใช้ชีวิตอย่างธรรมดา เรียบง่าย ใกล้ชิดกับสามัญชนและทรงศึกษาเรียนรู้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนในทุกระดับชั้น | |||
ทรงทุ่มเททั้งพระวรกายและพระสติปัญญาในการศึกษาอย่างเต็มพระกำลัง ทั้งนี้ ก็เพื่อทรงเตรียมพระองค์ในการที่จะทรงเป็นประมุขของประเทศ | |||
</div> | </div> | ||
บรรทัดที่ 36: | บรรทัดที่ 35: | ||
=== === | === === | ||
<div id="century"> | <div id="century"> | ||
<div | <div id="lcentury"> | ||
<gallery> | <gallery> | ||
Image:ทศ3-05.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๓<br />พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง | Image:ทศ3-05.jpg|พุทธศักราช ๒๔๙๓<br />พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง | ||
บรรทัดที่ 42: | บรรทัดที่ 41: | ||
</gallery> | </gallery> | ||
</div> | </div> | ||
<div | <div id="rcentury">'''ทรงรับพระราชภารกิจและหน้าที่อันยิ่งใหญ่ : <br />"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข<br />แห่งมหาชนชาวสยาม"''' | ||
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธี<br />บรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณี <br />ในวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๓ ณ พระที่นั่งไพศาล<br />ทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธย<br />จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า <span style="color:darkgreen">พระบาทสมเด็จ พระปรมินทร<br />มหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี <br />จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร</span> <br />ในวันมหามงคลนั้น พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้<br />พระราชทานปฐมบรมราชโองการแก่ประชาชนชาวไทยว่า | ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธี<br />บรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณี <br />ในวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๓ ณ พระที่นั่งไพศาล<br />ทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธย<br />จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า <span style="color:darkgreen">พระบาทสมเด็จ พระปรมินทร<br />มหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี <br />จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร</span> <br />ในวันมหามงคลนั้น พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้<br />พระราชทานปฐมบรมราชโองการแก่ประชาชนชาวไทยว่า | ||
บรรทัดที่ 90: | บรรทัดที่ 89: | ||
{{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.4}} | {{แม่แบบ:สำนักงาน กปร.4}} | ||
</div> | </div> | ||
[[หมวดหมู่:๘ ทศวรรษแห่งการพัฒนา]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 05:40, 7 พฤศจิกายน 2561
ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)
ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)
ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)
ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)
ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)
ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)
ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)
ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)
ทศวรรษที่ ๓ แรกเริ่มทรงเรียนรู้เพื่อประชาชน (พ.ศ. ๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)
...ความรู้นั้นเปรียบเสมือนศาสตราวุธ ย่อมจะเป็นคุณหรือโทษให้เท่ากัน สำคัญอยู่ที่ใช้ คือถ้าใช้ถูกทางก็ป้องกันอันตรายได้ ถ้าใช้ไม่ถูกทางก็กลับจะเป็นอันตรายประหารตัวเอง และแม้ผู้อื่นด้วย...
พระบรมราโชวาทพระราชทานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ ๒๐ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๐๗
-
พุทธศักราช ๒๔๙๐ ระหว่างทรงศึกษาต่อ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจด้วย
-
พุทธศักราช ๒๔๙๐-๒๔๙๒ ศึกษา ณ มหาวิทยาลัยโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
โดยทรงเปลี่ยนแนวการศึกษาของพระองค์จากสาขาวิศวกรรมศาสตร์ที่ทรงศึกษาอยู่เดิม เป็นสาขาวิชาเกี่ยวกับการปกครอง เช่น กฎหมาย อักษรศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นต้น
ในช่วงที่ทรงศึกษาอยู่ต่างประเทศได้ทรงมีโอกาสใช้ชีวิตอย่างธรรมดา เรียบง่าย ใกล้ชิดกับสามัญชนและทรงศึกษาเรียนรู้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนในทุกระดับชั้น
ทรงทุ่มเททั้งพระวรกายและพระสติปัญญาในการศึกษาอย่างเต็มพระกำลัง ทั้งนี้ ก็เพื่อทรงเตรียมพระองค์ในการที่จะทรงเป็นประมุขของประเทศ
-
พุทธศักราช ๒๔๙๓
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง -
พุทธศักราช ๒๔๙๓
เสด็จออกสีหบัญชร พระที่นั่งสุทไธสวรรย์ปราสาท
"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข
แห่งมหาชนชาวสยาม"
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธี
บรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณี
ในวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๓ ณ พระที่นั่งไพศาล
ทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธย
จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระบาทสมเด็จ พระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี
จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
ในวันมหามงคลนั้น พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้
พระราชทานปฐมบรมราชโองการแก่ประชาชนชาวไทยว่า
"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข
แห่งมหาชนชาวสยาม"
-
-
พุทธศักราช ๒๔๙๘
แม่เฒ่าตุ้ม จันทนิตย์ วัย ๑๐๒ ปี ถวายดอกบัวสายสีชมพู ๓ ดอก แด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ณ สามแยกชยางกูร-เรณูนคร จังหวัดนครพนม จนกลายมาเป็น ภาพประวัติศาตร์ที่น่าประทับใจ ภาพหนึ่ง -
พุทธศักราช ๒๔๙๓ พระราชทานปริญญาบัตร ปีการศึกษา ๒๔๙๒
ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง -
-
พุทธศักราช ๒๔๙๔ ทรงปล่อยพันธุ์ปลาหมอในสระน้ำ หน้าพระที่นั่งอุดร
-
พุทธศักราช ๒๔๙๕ รถพระที่นั่งติดหล่ม และถนนสายห้วยมงคล จึงเกิดขึ้น
ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง -
พุทธศักราช ๒๔๙๕ ทรงก่อตั้งสถานีวิทยุ อ.ส.เพื่อเป็นสื่อประชาสัมพันธ์
ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง -
พุทธศักราช ๒๔๙๓ ทรงคลาริเนตร่วมกับ วงเครื่องสายผสม วงแพทย์อาวุโส ออกอากาศทางสถานีวิทยุ อ.ส.พระราชวังดุสิต
ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง -
พุทธศักราช ๒๔๙๖ บ้านปากทวาร ตำบลหินเหล็กไฟ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
-
พุทธศักราช ๒๔๙๖ บ้านปากทวาร ตำบลหินเหล็กไฟ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
-
พุทธศักราช ๒๔๙๖ ทอดพระเนตรแพทย์ ที่กำลังตรวจ สุขภาพเด็กในท้องที่ทุรกันดาร
-
พุทธศักราช ๒๔๙๗ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่หน่วยแรก ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง
-
พุทธศักราช ๒๔๙๘ หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ พระราชทาน ทางน้ำ "เวชพาหน์"
ดูหน้าที่เกี่ยวข้อง -
เรือ "เวชพาหน์"
-
พุทธศักราช ๒๔๙๘ เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎร จังหวัดขอนแก่น
-
พุทธศํกราช ๒๔๙๘ เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยขบวนรถไฟพระที่นั่ง จากสถานีจิตรลดา กรุงเทพฯ
-
พุทธศักราช ๒๔๙๘ ทรงเยี่ยมราษฎร ภาคกลาง
-
พุทธศักราช ๒๔๙๘ มีพระราชปฏิสันถารกับชาวเมือง จำปาศักดิ์ ที่มารอรับเสด็จหน้าศาลากลาง จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๔๙๘
-
พุทธศักราช ๒๔๙๘ เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท่ามกลางอากาศร้อนระอุ
-
พุทธศักราช ๒๔๙๙ ทรงเยี่ยมตำรวจตะเวนชายแดน
-
พุทธศักราช ๒๔๙๙ พระราชพิธีทรงพระผนวช ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
-
ขณะทรงพระผนวช ทรงปฏิบัติศาสนกิจเช่นเดียวกับ ภิกษุอื่นๆ
ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"
จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ