ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่5"

จาก WIKI84
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 11: บรรทัดที่ 11:
</div>
</div>


=== ===
<div id="king" style="display:table; width:615px; clear:both">
<div style="float:left">
<gallery>
Image:ทศ5-13.jpg|พุทธศํกราช ๒๕๑๖<br /> เสด็จฯ ไปทรงเปิดโรงเรียน ร่มเกล้าแห่งแรก เมื่อวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๑๖
Image:ทศ5-12.jpg|เมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๒๑<br /> เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรกิจการ และพระราชทานอุปกรณ์การ เรียนแก่นักเรียน โรงเรียน ร่มเกล้า บ้านบูเก๊ะกอตอ อำเภอ ยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
</gallery>
</div>
<div style="float:left; padding-left:5px">'''จุดกำเนิดโรงเรียนร่มเกล้า'''
<div class="kindent">เมื่อเดือนมีนาคม ๒๕๑๕ ได้เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมหน่วยทหารที่ปฏิบัติการอยู่ ณ ภูพานน้อย อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม และมีพระราชประสงค์จะให้หน่วยทหารกองทัพภาคที่ ๒ ได้มีโอกาสช่วยเหลือประชาชนในด้านการศึกษาตามโอกาสอันควร โดยเป็นผู้ก่อสร้างโรงเรียนขึ้นโดยที่พระองค์จะทรงสนับสนุนวัสดุในการก่อสร้างให้เป็นบางส่วนซึ่งเป็น "จุดกำเนิดของโรงเรียนร่มเกล้า"</div>
<div class="kindent">ทรงริเริ่มโรงเรียนร่มเกล้าแห่งแรกที่บ้านหนองแคน ตำบลดงหลวง จังหวัดนครพนม ซึ่งเป็นพื้นที่สีแดงเข้ม ที่มีผู้มีอุดมการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างกับรัฐบาลมารวมกลุ่มกันในขณะนั้น (เป็นทางผ่านของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ใช้ขึ้นลงจากเทือกเขาภูพาน) โดยได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพรองค์ ก่อสร้างอาคารเรียนถาวรหลังแรก</div>
</div>
</div>
=== ===
<gallery>
<gallery>
Image:การกีฬา5.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๐<br /> ทรงเรือใบไมโครมด ซึ่งออกแบบด้วยพระองค์เอง
Image:การกีฬา5.jpg|พุทธศักราช ๒๕๑๐<br /> ทรงเรือใบไมโครมด ซึ่งออกแบบด้วยพระองค์เอง
บรรทัดที่ 28: บรรทัดที่ 46:
Image:ทศ5-10.jpg|ภาพโรงสีข้าวตัวอย่างใน โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา
Image:ทศ5-10.jpg|ภาพโรงสีข้าวตัวอย่างใน โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา
Image:ทศ5-11.jpg|เมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๑๙ เสด็จฯ ไปทอดพระ เนตรความ ก้าวหน้าการก่อ สร้างอาคาร เรียนที่อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
Image:ทศ5-11.jpg|เมื่อวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๑๙ เสด็จฯ ไปทอดพระ เนตรความ ก้าวหน้าการก่อ สร้างอาคาร เรียนที่อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
Image:ทศ5-12.jpg|เมื่อวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๒๑<br /> เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรกิจการ และพระราชทานอุปกรณ์การ เรียนแก่นักเรียน โรงเรียน ร่มเกล้า บ้านบูเก๊ะกอตอ อำเภอ ยี่งอ จังหวัดนราธิวาส
Image:ทศ5-13.jpg|พุทธศํกราช ๒๕๑๖<br /> เสด็จฯ ไปทรงเปิดโรงเรียน ร่มเกล้าแห่งแรก เมื่อวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๑๖
Image:ทศ5-14.jpg|พุทธศํกราช ๒๕๑๖<br /> มีพระราชปกิสันถารอย่างใกล้ ชิดกับราษฎรที่มาเฝ้าฯ รับ เสด็จบริเวณกองพัน ทหารราบ ที่ ๒๓ อำเภอปัว จังหวัดน่าน
Image:ทศ5-14.jpg|พุทธศํกราช ๒๕๑๖<br /> มีพระราชปกิสันถารอย่างใกล้ ชิดกับราษฎรที่มาเฝ้าฯ รับ เสด็จบริเวณกองพัน ทหารราบ ที่ ๒๓ อำเภอปัว จังหวัดน่าน
Image:ทศ5-15.jpg|พุทธศํกราช ๒๕๑๖<br /> มีพระราชปกิสันถารอย่างใกล้ ชิดกับราษฎรที่มาเฝ้าฯ รับ เสด็จบริเวณกองพัน ทหารราบ ที่ ๒๓ อำเภอปัว จังหวัดน่าน
Image:ทศ5-15.jpg|พุทธศํกราช ๒๕๑๖<br /> มีพระราชปกิสันถารอย่างใกล้ ชิดกับราษฎรที่มาเฝ้าฯ รับ เสด็จบริเวณกองพัน ทหารราบ ที่ ๒๓ อำเภอปัว จังหวัดน่าน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:15, 12 มีนาคม 2551


ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)

ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)

ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)

ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)

ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)

ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)

ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)

ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)

ทศวรรษที่ ๕ กษัตริย์ผู้ทรงงานหนักในการสร้างรากฐานการพัฒนา "คน" (พ.ศ. ๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)

...การปิดทองหลังพระนั้น เมื่อถึงคราวจำเป็นก็ต้องปิด
ว่าที่จริงแล้วคนโดยมากไม่ค่อยชอบปิดทองหลังพระกันนัก เพราะนึกว่าไม่มีใครเห็น
แต่ถ้าทุกคนพากันปิดทองแต่ข้างหน้า ไม่มีใครปิดทองหลังพระเลย พระจะเป็นพระที่งามบริบูรณ์ไม่ได้...

พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๐๖

จุดกำเนิดโรงเรียนร่มเกล้า
เมื่อเดือนมีนาคม ๒๕๑๕ ได้เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมหน่วยทหารที่ปฏิบัติการอยู่ ณ ภูพานน้อย อำเภอนาแก จังหวัดนครพนม และมีพระราชประสงค์จะให้หน่วยทหารกองทัพภาคที่ ๒ ได้มีโอกาสช่วยเหลือประชาชนในด้านการศึกษาตามโอกาสอันควร โดยเป็นผู้ก่อสร้างโรงเรียนขึ้นโดยที่พระองค์จะทรงสนับสนุนวัสดุในการก่อสร้างให้เป็นบางส่วนซึ่งเป็น "จุดกำเนิดของโรงเรียนร่มเกล้า"
ทรงริเริ่มโรงเรียนร่มเกล้าแห่งแรกที่บ้านหนองแคน ตำบลดงหลวง จังหวัดนครพนม ซึ่งเป็นพื้นที่สีแดงเข้ม ที่มีผู้มีอุดมการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างกับรัฐบาลมารวมกลุ่มกันในขณะนั้น (เป็นทางผ่านของผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ใช้ขึ้นลงจากเทือกเขาภูพาน) โดยได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพรองค์ ก่อสร้างอาคารเรียนถาวรหลังแรก


ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"

จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ