ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่8"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 13: | บรรทัดที่ 13: | ||
เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๑๘ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา | เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๑๘ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา | ||
</div> | </div> | ||
=== === | |||
<div id="king" style="display:table; width:615px;"> | |||
<div style="float:left"> | |||
[[ภาพ:ทศ8-06.jpg|left|200px]] | |||
</div> | |||
<div style="float:left; padding-left:5px">'''เศรษฐกิจพอเพียง : ปรัชญาเพื่อการดำรงชีพของชาวไทย''' | |||
...ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็น ที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งจะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาต่างๆ มาใช้ในการ | |||
วางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนใน | |||
ชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความ | |||
ซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ | |||
และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและ | |||
กว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี | |||
...ถ้าสามารถที่จะเปลี่ยนไป ทำให้กลับเป็น[[เศรษฐกิจพอเพียง]] ไม่ต้องทั้งหมดแม้แต่ครึ่งก็ไม่ต้อง อาจจะสักเศษหนึ่งส่วนสี่ ก็สามารถอยู่ได้ การแก้ไข อาจต้องใช้เวลา ไม่ใช่ง่ายๆ โดยมากคนก็ใจร้อนเพราะเดือดร้อน แต่ถ้าทำตั้งแต่เดี๋ยวนี้ก็สามารถที่จะแก้ไขได้... | |||
<div style="text-align:right"> | |||
พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว | |||
พระราชทานในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา | |||
ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต | |||
เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๐</div></div> | |||
</div> | |||
รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:27, 18 มีนาคม 2551
ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)
ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)
ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)
ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)
ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)
ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)
ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)
ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)
ถ้าทุกประเทศมีความคิด อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียง
หมายความว่า พอประมาณไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข...
พระราชดำรัสพระราชทานแก่คณะบุคคลต่าง ๆ ที่เข้าเฝ้าฯ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๑๘ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา
...ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็น ที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งจะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาต่างๆ มาใช้ในการ วางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนใน ชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความ ซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและ กว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
...ถ้าสามารถที่จะเปลี่ยนไป ทำให้กลับเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ต้องทั้งหมดแม้แต่ครึ่งก็ไม่ต้อง อาจจะสักเศษหนึ่งส่วนสี่ ก็สามารถอยู่ได้ การแก้ไข อาจต้องใช้เวลา ไม่ใช่ง่ายๆ โดยมากคนก็ใจร้อนเพราะเดือดร้อน แต่ถ้าทำตั้งแต่เดี๋ยวนี้ก็สามารถที่จะแก้ไขได้...
พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต
เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๐
ประโยชน์ ร่างกายแข็งแรง ข้าวขาวเอาของดีออกไปหมด
ข้าวกล้องนี่ดี คนบอกว่าเป็นของคนจน เราก็เป็นคนจน..."
พระราชทานในโอกาสเสด็จฯ ไปทรงเกี่ยวข้าว
ในพื้นที่โครงการพัฒนาส่วนพระองค์
ตำบลบางแตน อำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี
เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๒
ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"
จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ