ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่8"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 124: | บรรทัดที่ 124: | ||
</div> | </div> | ||
[[หมวดหมู่: | [[หมวดหมู่:๘ ทศวรรษแห่งการพัฒนา]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:59, 4 พฤศจิกายน 2551
ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)
ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)
ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)
ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)
ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)
ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)
ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)
ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)
ทศวรรษที่ ๘ ๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์ (พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)
ถ้าทุกประเทศมีความคิด อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียง
หมายความว่า พอประมาณไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข...
พระราชดำรัสพระราชทานแก่คณะบุคคลต่าง ๆ ที่เข้าเฝ้าฯ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๑๘ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา
...ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็น ที่จะ
ต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งจะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและ
ความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนำวิชาต่างๆ มาใช้ในการ
วางแผนและการดำเนินการ
ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดย
เฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม
ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความ
เพียร มีสติและความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยน
แปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจาก
โลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
...ถ้าสามารถที่จะเปลี่ยนไป ทำให้กลับเป็นเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ต้องทั้งหมดแม้แต่
ครึ่งก็ไม่ต้อง อาจจะสักเศษหนึ่งส่วนสี่ ก็สามารถอยู่ได้ การแก้ไข อาจต้องใช้เวลา ไม่
ใช่ง่ายๆ โดยมากคนก็ใจร้อนเพราะเดือดร้อน แต่ถ้าทำตั้งแต่เดี๋ยวนี้ก็สามารถที่จะ
แก้ไขได้...
วันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต
เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๐
"...ที่ว่า ๕-๖ ปีนี้ ความจริงได้เริ่มโครงการนี้มากกว่า ๕-๖
ปี โครงการที่คิดจะทำนี้ บอกได้ ไม่กล้าพูดมาหลายปีแล้ว
เพราะเดี๋ยวจะมีการคัดค้านจากผู้เชี่ยวชาญ จากผู้ที่ต่อต้าน
การทำโครงการ แต่โครงการนี้เป็นโครงการที่อยู่ในวิสัย
ที่จะทำได้ แม้จะต้องเสียค่าใช้จ่ายไม่ใช่น้อย แต่ถ้าดำเนิน
ไปเดี๋ยวนี้อีก ๕-๖ ปีข้างหน้าเราก็สบาย แต่ถ้าไม่ทำในอีก
๕-๖ ปีข้างหน้าราคาค่าสร้าง ค่าดำเนินการก็จะขึ้นไป
๒ เท่า ๓ เท่า ลงท้ายก็จะต้องประวิงต่อไป และเมื่อประวิง
ต่อไปไม่ได้ทำ เราก็ต้องอดน้ำแน่ จะกลายเป็นทะเลทราย
แล้วเราก็จะอพยพไปที่ไหนไม่ได้ โครงการนี้คือสร้างอ่าง
เก็บน้ำ ๒ แห่ง แห่งหนึ่งคือ แม่น้ำป่าสัก อีกแห่งคือ
แม่น้ำนครนายก สองแห่งรวมกันจะเก็บกักน้ำเหมาะพอ
เพียงสำหรับการบริโภค การใช้ในเขตกรุงเทพฯ และ
เขตใกล้เคียงที่ราบลุ่มของประเทศไทยนี้..."
โครงการเขื่อนป่าสัก พระราชทานแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายนพ.ศ.๒๕๓๗
ประโยชน์ ร่างกายแข็งแรง ข้าวขาวเอาของดีออกไปหมด
ข้าวกล้องนี่ดี คนบอกว่าเป็นของคนจน เราก็เป็นคนจน..."
พระราชทานในโอกาสเสด็จฯ ไปทรงเกี่ยวข้าว
ในพื้นที่โครงการพัฒนาส่วนพระองค์
ตำบลบางแตน อำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี
เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๒
-
พุทธศักราช ๒๕๔๐
วันที่ ๓ เมษายน ทรงติดตาม
การดำเนินงาน ณ ศูนย์ศึกษา
การพัฒนาห้วยทราย
อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
จังหวัดเพชรบุรี -
-
พุทธศักราช ๒๕๔๐
วันที่ ๓ เมษายน พระราชทาน
พระราชดำริให้ศึกษาทดลอง
การปลูกหญ้าแฝก โดย
เสด็จฯ ไปทอดพระเนตร
แปลงปลูกหญ้าแฝกที่ศูนย์
ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายฯ -
-
พุทธศักราช ๒๕๔๐
เสด็จพระราชดำเนินไป
ทรงเยี่ยมชุมชนชาวมุสลิม -
พุทธศักราช ๒๕๔๑
วันที่ ๒๐ มิถุนายน เสด็จฯ
ไปยังโครงการพัฒนาพื้นที่
หนองใหญ่ตามพระราชดำริ
จังหวัดชุมพร -
๒๐ มิถุนายน ๒๕๔๑
จังหวัดชุมพร -
พุทธศักราช ๒๕๔๑
วันที่ ๑๔ กรกฎาคม เสด็จฯ
ไปยังศูนย์ศึกษาการพัฒนา
ห้วยทราย อันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ จังหวัดเพชรบุรี -
พุทธศักราช ๒๕๔๑
วันที่ ๑๔ กรกฎาคม เสด็จฯ
ไปยังศูนย์ศึกษาการพัฒนา
ห้วยทราย อันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ จังหวัดเพชรบุรี -
พุทธศักราช ๒๕๔๒
วันที่ ๒๕ พฤษภาคม เสด็จฯ ไป
ทรงเปิดเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
จังหวัดลพบุรี -
-
-
พุทธศักราช ๒๕๔๓
วันที่ ๒๐ เมษายน เสด็จฯ ไป
ยังศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วย
ทราย อันเนื่องมาจากพระราช
ดำริ จังหวัดเพชรบุรี -
พุทธศักราช ๒๕๔๓
วันที่ ๒๐ เมษายน เสด็จฯ ไป
ยังศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วย
ทราย อันเนื่องมาจากพระราช
ดำริ จังหวัดเพชรบุรี -
พุทธศักราช ๒๕๔๔
วันที่ ๒ มิถุนายน เสด็จฯ ไป
ทรงวางศิลาฤกษ์ที่เขื่อนขุนด่าน
ปราการชล จังหวัดนครนายก -
-
-
เขื่อนขุนด่านปราการชล
-
พุทธศักราช ๒๕๔๔
วันที่ ๖ ตุลาคม เสด็จฯ ไปทอด
พระเนตรโครงการอ่างเก็บน้ำ
เขาเต่า อำเภอหัวหิน จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งเป็น
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำแห่งแรก -
พุทธศักราช ๒๕๔๔
พระราชทานความรู้แก่นัก
เรียนโรงเรียนวังไกลกังวล ณ
โครงการอ่างเก็บน้ำเขาเต่า
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
-
พุทธศักราช ๒๕๔๔
วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน เสด็จฯ
ไปยังพื้นที่ปลูกป่าชายเลน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ -
-
เขื่อนแควน้อย จังหวัดพิษณุโลก
-
ส.ค.ส. พระราชทาน
พุทธศักราช ๒๕๔๖ -
ส.ค.ส. พระราชทาน
พุทธศักราช ๒๕๔๗ -
ส.ค.ส. พระราชทาน
พุทธศักราช ๒๕๔๙ -
ส.ค.ส. พระราชทาน
พุทธศักราช ๒๕๕๐ -
พุทธศักราช ๒๕๔๗
วันที่ ๑๕ กรกฎาคม เสด็จฯ ไป
ทอดพระเนตรโครงการป้องกัน
ภัยแล้ง แก้ไขปัญหาอุทกภัย
จังหวัดเพชรบุรี -
-
พุทธศักราช ๒๕๔๘
วันที่ ๘ พฤศจิกายน เสด็จฯ ไป
ทอดพระเนตรโครงการอ่างเก็บ
น้ำยางชุม อันเนื่องมาจากพระ
ราชดำริ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ -
-
วันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๙
นายโคฟี อันนัน เลขาธิการ
สหประชาชาติ ทูลเกล้าฯ ถวาย
รางวัลความสำเร็จสูงสุดด้าน
การพัฒนามนุษย์
ดูข้อมูลเกี่ยวข้อง -
วันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๔๙
เสด็จออก ณ สีหบัญชร
พระที่นั่งอนันตสมาคม -
-
-
-
พุทธศักราช ๒๕๕๐
ภายลายพระหัตถ์ ที่ได้พระราช
ทานพระราชดำริเพิ่มเติมเพื่อ
ให้การช่วยเหลือราษฎรเกิด
ประโยชน์สูงสุด -
-
พุทธศักราช ๒๕๕๐
วันที่ ๓๐ เมษายน เสด็จฯ ไป
ในพิธีปล่อยเรือตรวจการณ์
ใกล้ฝั่ง (ต.๙๙๑) ลงน้ำ ณ
อู่หมายเลข ๑ กรมอู่ทหารเรือ -
พุทธศักราช ๒๕๕๐
วันที่ ๑๒ กันยายน เสด็จฯ ไป
ในพิธีฉลองเสาชิงช้า สืบเนื่อง
จากที่กรุงเทพมหานครได้
บูรณปฏิสังขรณ์เสาชิงช้า -
-
-
-
-
ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"
จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ