ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่3"

จาก WIKI84
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 52: บรรทัดที่ 52:
<div style="float:left">'''ทรงรับพระราชภารกิจและหน้าที่อันยิ่งใหญ่ : <br />"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม"'''
<div style="float:left">'''ทรงรับพระราชภารกิจและหน้าที่อันยิ่งใหญ่ : <br />"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม"'''


ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก<br />ตามแบบอย่างโบราณราชประเพณี ในวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๓ ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ใน พระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธยจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า <span style="color:darkgreen">พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร</span> ในวันมหามงคลนั้น พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานปฐมบรมราชโองการแก่ประชาชนชาวไทยว่า
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธี<br />บรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณี <br />ในวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๓ ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ <br />ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธยจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า <span style="color:darkgreen">พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร</span> ในวันมหามงคลนั้น พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานปฐมบรมราชโองการแก่ประชาชนชาวไทยว่า


<span style="color:darkgreen">'''"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม"'''</span>
<span style="color:darkgreen">'''"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม"'''</span>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:56, 11 มีนาคม 2551


ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)

ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)

ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)

ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)

ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)

ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)

ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)

ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)

ทศวรรษที่ ๓ แรกเริ่มทรงเรียนรู้เพื่อประชาชน (พ.ศ. ๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)


...ความรู้นั้นเปรียบเสมือนศาสตราวุธ ย่อมจะเป็นคุณหรือโทษให้เท่ากัน
สำคัญอยู่ที่ใช้ คือถ้าใช้ถูกทางก็ป้องกันอันตรายได้ ถ้าใช้ไม่ถูกทางก็กลับจะเป็นอันตราย
ประหารตัวเอง และแม้ผู้อื่นด้วย...

พระบรมราโชวาทพระราชทานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วันที่ ๒๐ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๐๗


ทรงมุ่งมั่นศึกษา : สร้างภูมิพลังเพื่อแผ่นดิน

โดยทรงเปลี่ยนแนวการศึกษาของพระองค์จากสาขา
วิศวกรรมศาสตร์ที่ทรงศึกษาอยู่เดิม เป็นสาขาวิชาเกี่ยวกับ
การปกครอง เช่น กฎหมาย อักษรศาสตร์ รัฐศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นต้น


ในช่วงที่ทรงศึกษาอยู่ต่างประเทศได้ทรงมีโอกาสใช้ชีวิต
อย่างธรรมดา เรียบง่าย ใกล้ชิดกับสามัญชน และทรงศึกษา
เรียนรู้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนในทุกระดับชั้น


ทรงทุ่มเททั้งพระวรกายและพระสติปัญญาในการศึกษา
อย่างเต็มพระกำลัง ทั้งนี้ ก็เพื่อทรงเตรียมพระองค์
ในการที่จะทรงเป็นประมุขของประเทศ


ทรงรับพระราชภารกิจและหน้าที่อันยิ่งใหญ่ :
"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม"

ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธี
บรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณี
ในวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๓ ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธยจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ในวันมหามงคลนั้น พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานปฐมบรมราชโองการแก่ประชาชนชาวไทยว่า

"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม"




ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"

จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ