ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่4"

จาก WIKI84
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 20: บรรทัดที่ 20:
<gallery>
<gallery>
Image:ทศ4-02.jpg|
Image:ทศ4-02.jpg|
Image:ทศ4-03.jpg|พุทธศักราช ๒๕๐๐<br />เสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวน พุทธพยุหยาตราทางชลมารค ในการถวายผ้าพระกฐินต้น
Image:ทศ4-03.jpg|พุทธศักราช ๒๕๐๐<br />เสด็จพระราชดำเนินโดย กระบวนพุทธพยุหยาตรา ทางชลมารค ในการถวายผ้า พระกฐินต้น
</gallery>
</gallery>
</div>
</div>
<div style="float:left; padding-left:5px">'''ทรงรับพระราชภารกิจและหน้าที่อันยิ่งใหญ่ : <br />"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข<br />แห่งมหาชนชาวสยาม"'''
<div style="float:left; padding-left:5px">'''ฟื้นฟูพระราชพิธี "กระบวนพยุหยาตราชลมารค"'''


ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธี<br />บรมราชาภิเษกตามแบบอย่างโบราณราชประเพณี <br />ในวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๙๓ ณ พระที่นั่งไพศาล<br />ทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธย<br />จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า <span style="color:darkgreen">พระบาทสมเด็จ พระปรมินทร<br />มหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี <br />จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร</span> <br />ในวันมหามงคลนั้น พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้<br />พระราชทานปฐมบรมราชโองการแก่ประชาชนชาวไทยว่า
<div class="kindent">ทรงฟื้นฟูพระราชประเพณีที่สำคัญ คือ เสด็จพระราชดำเนินโดย '''"กระบวนพยุหยาตราชลมารค"''' ในงานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ ซึ่งครั้งนั้นเรียกว่า '''"กระบวนพุทธพยุหยาตราทางชลมารค"''' โดยเสด็จพระราชดำเนินในการถวายผ้าพระกฐินต้น จากนั้น ได้สานต่อพระราชประเพณีดังกล่าวในงานพระราชพิธีที่สำคัญสืบมาจนปัจจุบัน</div>
 
<span style="color:darkgreen">'''"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข<br />แห่งมหาชนชาวสยาม"'''</span>
</div>
</div>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:29, 11 มีนาคม 2551


ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)

ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)

ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)

ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)

ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)

ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)

ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)

ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)

ทศวรรษที่ ๔ ทรงส่งเสริมการศึกษา และพัฒนางานส่วนพระองค์ (พ.ศ. ๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)


...การสร้างโรงนมผงในสวนจิตรลดาไม่ใช่สำหรับการค้า แต่สำหรับทดลองดูว่าการทำเช่นนี้จะได้ผลอย่างไร
และเก็บข้อมูลเอาไว้ ดังที่ได้ทำจนถึงบัดนี้ มิใช่ว่าจะทำโรงนมผงนี้เพื่อที่จะให้พอความต้องการในตลาด ซึ่งไม่มีทาง
จะให้เพียงพอได้ เพราะว่าโรงนมในสวนจิตรลดานี้มีความมุ่งหมายอย่างเดียว คือค้นคว้า ไม่ใช่การค้า...

พระราชดำรัส พระราชทานแก่คณะกรรมการดำเนินงานสร้างโรงนมผง
ที่ตำบลหนองโพ จังหวัดราชบุรี
ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน วันศุกร์ที่ ๑๑ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๑๓


ฟื้นฟูพระราชพิธี "กระบวนพยุหยาตราชลมารค"
ทรงฟื้นฟูพระราชประเพณีที่สำคัญ คือ เสด็จพระราชดำเนินโดย "กระบวนพยุหยาตราชลมารค" ในงานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ ซึ่งครั้งนั้นเรียกว่า "กระบวนพุทธพยุหยาตราทางชลมารค" โดยเสด็จพระราชดำเนินในการถวายผ้าพระกฐินต้น จากนั้น ได้สานต่อพระราชประเพณีดังกล่าวในงานพระราชพิธีที่สำคัญสืบมาจนปัจจุบัน




ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"

จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ