ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทศวรรษที่6"

จาก WIKI84
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 60: บรรทัดที่ 60:
Image:ทศ6-39.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๖
Image:ทศ6-39.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๖
Image:ทศ6-40.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๘
Image:ทศ6-40.jpg|พุทธศักราช ๒๕๓๘
</gallery>
=== ===
<gallery>
Image:ทศ6-41.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๕
Image:ทศ6-42.jpg|พุทธศักราช ๒๕๔๙
Image:ทศ6-43.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๖<br />วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรสภาพพื้นที่ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดสกลนคร
Image:ทศ6-44.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๗<br />วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรสภาพพื้นที่ของ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภูพาน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดสกลนคร <br />เพื่อพิจารณา จัดหาน้ำสนับสนุน การดำเนินงานของศูนย์ศึกษา การพัฒนาภูพานอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ
Image:ทศ6-45.jpg|เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรแปลง สบู่ดำ ของศูนย์ศึกษา การพัฒนาภูพาน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดสกลนคร <br />พระราชทานพระราชดำริ สรุปว่า "...สบู่ดำเป็นพืชที่สามารถสกัด เป็นน้ำมัน นำมาใช้ใน เครื่องจักรกลการเกษตรได้ ให้ศูนย์ฯ ได้ศึกษาทดลอง การใช้ประโยชน์จากสบู่ดำ..."
Image:ทศ6-46.jpg|วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๒ เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรพื้นที่ ฝายต้นน้ำ ศูนย์ศึกษาการ พัฒนาภูพาน อันเนื่องมาจาก พระราชดำริ พระราชทาน พระราชดำริ ให้พิจารณา ฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้ำลำธาร โดยใช้ฝายต้นน้ำ ([[การจัดการทรัพยากรน้ำ|Check Dam]])
Image:ทศ6-47.jpg|
Image:ทศ6-48.jpg|เสด็จพระราชดำเนินไปทรง สำรวจสภาพภูมิประเทศ ทุกสภาพพื้นที่เพื่อเป็นข้อมูล ประกอบการพระราชทาน พระราชดำริแก้ไขปัญหา ให้กับราษฎร
Image:ทศ6-49.jpg|พุทธศักราช ๒๕๒๖<br />วันที่ ๕ มกราคม เสด็จฯ ไปยังพื้นที่โครงการ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเพชรบุรี
Image:ทศ6-50.jpg|ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
</gallery>
</gallery>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:26, 13 มีนาคม 2551


ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)

ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)

ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)

ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)

ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)

ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)

ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)

ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)

ทศวรรษที่ ๖ทรงค้นคว้ารูปแบบการบริหารจัดการแนวใหม่
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ : พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต (พ.ศ. ๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)


...เป็นการสาธิตการพัฒนาเบ็ดเสร็จ หมายถึง ทุกสิ่ง ทุกอย่าง ทุกด้านของชีวิตประชาชนที่
จะหาเลี้ยงชีพในท้องที่จะทำอย่างไร และได้เห็นวิทยาการแผนใหม่ จะสามารถที่จะหาดูวิธีการ
ทำมาหากินให้มีประสิทธิภาพ...

...ด้านหนึ่งก็จะเป็นจุดประสงค์ของศูนย์ศึกษาก็เป็นสถานที่สำหรับค้นคว้า วิจัยในท้องที่
เพราะว่าแต่ละท้องที่ ฟ้า อากาศ และประชาชนในท้องที่ต่างๆ กันก็มีลักษณะแตกต่างกันมากเหมือนกัน...

พระราชดำรัส ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๒๖





ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"

จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ