ทศวรรษที่2
ทศวรรษที่๑
(พ.ศ.๒๔๗๐ - ๒๔๗๙)
ทศวรรษที่ ๒
(พ.ศ.๒๔๘๐ - ๒๔๘๙)
ทศวรรษที่ ๓
(พ.ศ.๒๔๙๐ - ๒๔๙๙)
ทศวรรษที่ ๔
(พ.ศ.๒๕๐๐ - ๒๕๐๙)
ทศวรรษที่ ๕
(พ.ศ.๒๕๑๐ - ๒๕๑๙)
ทศวรรษที่ ๖
(พ.ศ.๒๕๒๐ - ๒๕๒๙)
ทศวรรษที่ ๗
(พ.ศ.๒๕๓๐ - ๒๕๓๙)
ทศวรรษที่ ๘
(พ.ศ.๒๕๔๐ - ๒๕๕๐)
...ประเทศชาติของเราจะเจริญหรือเสื่อมลงนั้น ย่อมขึ้นอยู่กับการศึกษาของประชาชนแต่ละคนเป็นสำคัญ...
ผลการศึกษาอบรมในวันนี้จะเป็นเครื่องกำหนดอนาคตของชาติในวันข้างหน้า...
พระราชดำรัส วันที่ ๒ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๐๘
สวิตเซอร์แลนด์ เพื่อทรงศึกษาต่อในเดือนสิงหาคม พ.ศ.๒๔๘๙ ในครั้งนี้ ทรงเปลี่ยน
แปลงแขนงวิชาที่กำลังทรงศึกษาเพื่อให้เหมาะสมและเป็นประโยชน์แก่การปกครองประเทศ
ในอนาคต
มายเสียจริงๆ ที่ถนนราชดำเนินกลางราษฎรเข้ามาใกล้ชิดรถที่เรานั่ง กลัวเหลือเกินว่าล้อรถ
ของเราจะไปทับแข้งทับขาใครเขาบ้าง รถแล่นฝ่าฝูงชนไปได้อย่างช้าที่สุด ถึงวัด
เบญจมบพิตรรถแล่นได้เร็วขึ้นบ้าง ตามทางที่ผ่านมาได้ยินเสียงใครคนหนึ่งร้องขึ้นมา
ดัง ๆ ว่า '...อย่าละทิ้งประชาชน...' อยากจะร้องบอกเขาลงไปว่า
จากพระราชดำรัสดังกล่าวเป็นดั่งคำสัญญาที่จะเสด็จฯ กลับมา สะท้อนให้เห็นถึงความผูกพัน
ที่ทรงมีต่ออาณาประชาราษฎร์ต่อเนื่องมาตั้งแต่แรกเริ่มรัชกาล ซึ่งอธิบายได้จากพระราช
หัตถเลขาที่ทรงมีถึงพระสหายเก่าหลังครองสิริราชสมบัติแล้ว ความว่า
ข้าพเจ้าสำนึกในความรักอันมีค่ายิ่ง แต่ข้าพเจ้าได้เรียนรู้โดยการทำงานที่นี่ว่า ที่ของ
ข้าพเจ้าในโลกนี้คือ การได้อยู่ท่ามกลางประชาชนของข้าพเจ้า นั่นคือคนไทย
ทั้งปวง..."
-
-
พุทธศักราช ๒๔๗๗
-
พุทธศักราช ๒๔๘๕
-
พุทธศักราช ๒๔๘๘ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
-
พุทธศักราช ๒๔๘๐ "รถลากไม้" ทรงประดิษฐ์ด้วยพระองค์เอง ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
-
พุทธศักราช ๒๔๘๑ พระอนุชากำลังเรียนกับ ครูแอร์ช (Hersch) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
-
พุทธศักราช ๒๔๘๑ ลายพระหัตถ์เมื่อ ๑๑ พรรษา (จากสมุดเยี่ยม กรมศิลปากร)
-
พุทธศักราช ๒๔๘๑ เสด็จฯ กลับโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ โดยเรือหลวงแม่กลอง ที่ท่าราชวรดิษฐ์ กรุงเทพฯ
-
พุทธศักราช ๒๔๘๒ ประทับอยู่ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ ๒
-
พุทธศักราช ๒๔๘๔ ยามภาวะสงครามน้ำมันขาดแคลน ทรงจักรยานไปโรงเรียน
-
พุทธศักราช ๒๔๘๓ หน้าร้อนที่โลซานน์ ตีกรรเชียงในทะเลสาบที่ภูเขา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
-
พุทธศักราช ๒๔๘๕ สามพระองค์ กับลูกแมว สัตว์เลี้ยงที่ทรงโปรด
-
พุทธศักราช ๒๔๘๖ ยามว่างทรงศึกษาศิลปะ งานช่าง จากครูชาวฝรั่งเศส
-
พุทธศักราช ๒๔๘๗ สองพระองค์ก่อนเสด็จนิวัตรพระนครครั้งที่ ๒ เมืองโลซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
-
พุทธศักราช ๒๔๘๘ เสด็จนิวัตประเทศไทยครั้งที่ ๒ ดอนเมือง กรุงเทพฯ
-
พุทธศักราช ๒๔๘๙ ๓ มิถุนายน เสด็จฯ ไปสำเพ็ง เยี่ยมราษฎร
-
พุทธศักราช ๒๔๘๙ พระราชนิพนธ์เพลงแรก คือ เพลงแสงเทียน
-
"ช่างภาพที่ติดตามทุกหนทุกแห่ง และที่ฝึกอาชีพการเป็นกษัตริย์ ไปโดยไม่รู้ตัว"
-
ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ เมื่อครั้งยังทรงดำรงพระยศ เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช โดยเสด็จพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ไปเยี่ยมราษฎร
-
จนกระทั่งวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล เสด็จสวรรคตอย่างกะทันหัน คณะรัฐบาลกราบบังคมทูลเชิญ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งขณะนั้นมีพระชนมพรรษา เพียง ๑๙ พรรษา เสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติ ทรงเป็น พระมหากษัตริย์ลำดับที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์
แต่เนื่องจากยังมีพระราชกิจด้านการศึกษา จึงต้องเสด็จพระราชดำเนินกลับไปยังประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพื่อทรงศึกษาต่อในเดือนสิงหาคม พ.ศ.๒๔๘๙ ในครั้งนี้ ทรงเปลี่ยนแปลงแขนงวิชาที่กำลังทรงศึกษาเพื่อให้เหมาะสมและเป็นประโยชน์แก่การปกครองประเทศในอนาคต
จากพระราชดำรัสดังกล่าวเป็นดั่งคำสัญญาที่จะเสด็จฯ กลับมา สะท้อนให้เห็นถึงความผูกพันที่ทรงมีต่ออาณาประชาราษฎร์ต่อเนื่องมาตั้งแต่แรกเริ่มรัชกาล ซึ่งอธิบายได้จากพระราชหัตถเลขาที่ทรงมีถึงพระสหายเก่าหลังครองสิริราชสมบัติแล้ว ความว่า
ข้อมูลจาก หนังสือ ประมวลภาพการทรงงาน "๘๐ พรรษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์"
จัดทำโดยสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ