ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมวดหมู่:พระราชกรณียกิจ"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
{{แม่แบบ:แสดงหมวดหมู่หลัก}} | |||
[[ภาพ:ทศ8-03.jpg|center|450px]] | [[ภาพ:ทศ8-03.jpg|center|450px]] | ||
'''"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม"''' | |||
<div class="kindent">พระราชกรณียกิจด้านการพัฒนาประเทศ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริเป็นแนวทางปฏิบัติไว้ โดยทางมุ่งเน้นการแก้ไปปัญหาพื้นฐานของชนบท คือ ปัญหาเกษตรกรรมเป็นหลัก เช่น การจัดหาแหล่งน้ำ การปรับปรุงคุณภาพดิน การส่งเสริมราษฎรในท้องถิ่นให้ความรู้ ความเข้าใจในการประกอบอาชีพ รวมทั้งให้รู้จักนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้ควบคู่กันไปกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | |||
พระราชดำริที่พระราชทานไว้เป็นแนวทางปฏบัติในการพัฒนานี้ได้ช่วยแก้ปัญหาเกษตรกรรมได้มาก ทำให้ปัญหาความยากจนของราษฎรในชนบทลดน้อยลงมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น จากแนวพระราชดำริดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริมากกว่า ๓,๐๐๐ โครงการ ทำให้ประเทศชาติพัฒนาก้าวหน้ามาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน | |||
แนวพระราชดำริที่พระราชทานไว้ในทุกด้าน ทุกเรื่องล้วนแต่มีคุณค่าเอนกอนันต์ เปรียบเสมือนประทีปนำทางให้ประเทศชาติพัฒนาก้าวหน้าสามารถผ่านพ้นวิกฤตการณ์ต่างๆ ไปได้ด้วยดี เช่น เมื่อเกิดวิกฤตการณ์เกี่ยวกับเศรษฐกิจในปี ๒๕๔๐ พระองค์ได้พระราชดำรัสให้คนไทยตระหนักถึงการนำหลัก'''"เศรษฐกิจพอเพียง"''' มาเป็นปรัชญาดำเนินชีวิต โดยทรงเน้นหลัก '''"ทางสายกลาง"''' ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ในทุกระดับ อันจะทำให้ชีวิตตั้งอยู่บนพื้นฐานของความมั่นคง สมดุล พึ่งพาตนเองและประสบความสุขที่ยั่งยืนทางกลางกระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ | |||
</div> | |||
---- | ---- |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 07:55, 10 พฤศจิกายน 2551
หมวดหมู่ทั้งหมด |
---|
>> หน้าแรก |
"เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม"
พระราชดำริที่พระราชทานไว้เป็นแนวทางปฏบัติในการพัฒนานี้ได้ช่วยแก้ปัญหาเกษตรกรรมได้มาก ทำให้ปัญหาความยากจนของราษฎรในชนบทลดน้อยลงมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น จากแนวพระราชดำริดังกล่าว ได้ก่อให้เกิดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริมากกว่า ๓,๐๐๐ โครงการ ทำให้ประเทศชาติพัฒนาก้าวหน้ามาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
แนวพระราชดำริที่พระราชทานไว้ในทุกด้าน ทุกเรื่องล้วนแต่มีคุณค่าเอนกอนันต์ เปรียบเสมือนประทีปนำทางให้ประเทศชาติพัฒนาก้าวหน้าสามารถผ่านพ้นวิกฤตการณ์ต่างๆ ไปได้ด้วยดี เช่น เมื่อเกิดวิกฤตการณ์เกี่ยวกับเศรษฐกิจในปี ๒๕๔๐ พระองค์ได้พระราชดำรัสให้คนไทยตระหนักถึงการนำหลัก"เศรษฐกิจพอเพียง" มาเป็นปรัชญาดำเนินชีวิต โดยทรงเน้นหลัก "ทางสายกลาง" ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ในทุกระดับ อันจะทำให้ชีวิตตั้งอยู่บนพื้นฐานของความมั่นคง สมดุล พึ่งพาตนเองและประสบความสุขที่ยั่งยืนทางกลางกระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ
พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จัดตามคำสืบค้น
หมวดหมู่ย่อย
หมวดหมู่นี้มี 13 หมวดหมู่ย่อยต่อไปนี้ จากทั้งหมด 13 หมวดหมู่
ก
- การเกษตร (38 น)
- การแพทย์และสาธารณสุข (12 น)
ค
- คมนาคม สาธารณูปโภค สื่อสาร (16 น)
ด
- ด้านการต่างประเทศ (8 น)
ท
- ทุน-มูลนิธิ-การศึกษา (32 น)
ฝ
- ฝนหลวง (24 น)
ว
- วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ (8 น)
ศ
- ศูนย์ศึกษาการพัฒนา (14 น)
แ
โ
หน้าในหมวดหมู่ "พระราชกรณียกิจ"
82 หน้าต่อไปนี้อยู่ในหมวดหมู่นี้ จากทั้งหมด 82 หน้า
ก
- ก-แกล้งดิน
- กังหันน้ำชัยพัฒนา
- การคมนาคม
- การจัดการทรัพยากรดิน
- การจัดการทรัพยากรน้ำ
- การจัดการทรัพยากรป่าไม้
- การจัดการพื้นที่พรุ
- การทำปุ๋ยหมักจากขยะโดยการฝังกลบในกล่องคอนกรีต
- การบำบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวา
- การบำบัดน้ำเสียด้วยระบบบ่อบำบัดน้ำเสีย
- การบำบัดน้ำเสียด้วยระบบพืชกรองน้ำเสีย
- การบำบัดน้ำเสียด้วยระบบพื้นที่ชุ่มน้ำเทียม
- การบำบัดน้ำเสียด้วยระบบหญ้ากรองน้ำเสีย
- การบำบัดน้ำเสียด้วยระบบแปลงพืชป่าชายเลน
- การปกครอง
- การพัฒนาทางการเกษตร
- การศึกษาและฝึกอาชีพ
- การสื่อสาร
- การอนุรักษ์และพัฒนาป่าชายเลน
- การเกษตร
- การแก้ปัญหาคมนาคมในมหานคร
- การแก้ไขปัญหาทรัพยากรดิน
- การแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ
- การแก้ไขปัญหาน้ำเสีย-เทคโนโลยี
- การแพทย์
- การแพทย์และสาธารณสุขเชิงรุก
- การใช้พลังงานธรรมชาติเพื่อการผลิตไฟฟ้า